สังคมการเมืองไทยตกอยู่ภายใต้กระแสอํานาจนิยมที่ว่านี้ ในทํานองเดียวกันกับสังคมอื่นๆ ในภูมิภาคฐานทรัพยากรธรรมชาติเขตร้อนของโลก อันอุดมสมบูรณ์ไปด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่ออํานาจครอบครองครอบงําของมหาอํานาจทุนอุตสาหกรรมตะวันตกมาตั้งแต่ต้น โดยนัยนี้เอง ประเด็นปัญหาหลักของผลกระทบยังความสูญเสียต่อชีวิตความเป็นอยู่ อันเป็นสิทธิขั้นมูลฐานของ…
ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิชุมชนท้องถิ่น : ฐานปฏิรูปการเมือง
๑. การประชุมเวทีสาธารณะเรื่อง “สิทธิชุมชน :มิติการปฏิรูปการเมือง” ๑๔– ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ณ สภาคริสตจักรในประเทศไทยนี้ ถือเปนการปดทายตอจากการสัมมนาในหัวขอ “เปดศักราชสิทธิชุมชน” ๒ ครั้ง เมื่อ ๑ – ๒ มีนาคม ๒๕๔๔ และ ๑๑ – ๑๒ ธันวาคม ๒๕๔๖ ณ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ทั้งสามครั้ง เปนผลสรุปจากงานวิจัยชุดโครงการ “สิทธิมนุษยชนไทยในสถานการณสากล” กับชุดโครงการ “สิทธิชุมชนศึกษา” ตามลําดับ ซึ่งเปนการตอเนื่องและเสริมซึ่งกันและกัน
๒. การดําเนินงานโครงการศึกษาวิจัยดังกลาวนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อแสวงขอมูลและความรูความเขาใจถึงโครงสรางและกระบวนการปฏิสัมพันธของสังคมการเมือง ๓ ระดับ คือระดับนานาชาติและระดับรัฐประชาชาติ ลงไปยังระดับมวลชุมชนรากหญา ซึ่งไมเปนที่ยอมรับในสถานะความเปนเอกลักษณและสิทธิในความเปนตัวตน ภายใตระบบนิติศาสตรการเมืองในกรอบของอํานาจอธิปไตยแหงรัฐประชาชาติตามที่ยึดถือกันในปจจุบัน พรอมทั้งวิเคราะหประเมินผลกระทบตอสิทธิมนุษยชน ซึ่งสําหรับงานวิจัยนี้ ถือเปนเกณฑคุณคาวัดระดับความมั่นคงและความกาวหนาของมวลมนุษยชาติ
๓. งานศึกษาวิจัยนี้ พยายามทําความเขาใจเกี่ยวกับความหมายและขอบขายของสิทธิมนุษยชนยอนไปในอดีต เปนที่ยืนยันไดชัดเจนวา มีความเปนพลวัต และมีพัฒนาการอยูเสมอ ตามบริบทเศรษฐกิจการเมืองที่แปรเปลี่ยนไป มิใชคงที่ตายตัวอยางที่ยึดมั่นถือมั่นกันดุจนิกายศาสนาในวัฒนธรรมตะวันตก เพราะเหตุจากความยึดมั่นถือมั่นนี้เอง สิทธิมนุษยชนของตะวันตก จึงเสื่อมถอยลงไปเปนเพียงเรื่องของอํานาจกดขี่เบียดเบียน ดังที่แสดงออกในรูปของจักรวรรดินิยมเศรษฐกิจตลาดเสรี ซึ่งแผขยายอํานาจออกไปทั่วโลก หรือตามที่เรียกรวมๆ กันไปวา โลกาภิวัตน
๔. สังคมการเมืองไทยตกอยูภายใตกระแสอํานาจนิยมที่วานี้ ในทํานองเดียวกันกับสังคมอื่นๆ ในภูมิภาคฐานทรัพยากรธรรมชาติเขตรอนของโลก อันอุดมสมบูรณไปดวยความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีเปาหมายเพื่ออํานาจครอบครองครอบงําของมหาอํานาจทุนอุตสาหกรรมตะวันตกมาตั้งแตตน โดยนัยนี้เอง ประเด็นปญหาหลักของผลกระทบยังความสูญเสียตอชีวิตความเปนอยู อันเปนสิทธิขั้นมูลฐานของมวลชนในชุมชนทองถิ่นรากหญา รวมทั้งบูรณภาพความยั่งยืนของฐานทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งประกอบเปนปจจัยสี่เพื่อการดํารงชีวิตของมวลชนเหลานี้ ในขณะเดียวกัน ชนชั้นนําไทยในยุคสมัยใหม โดยผลจากการศึกษาและกระบวนการปลูกฝงทางวิชาชีพวิชาการ ก็ตั้งตนเปนชนชั้นอํานาจเหนือมวลชุมชนรากหญา และเขามาควบคุมจัดการใชประโยชน ในนามของสิทธิอธิปไตยเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแหงรัฐ กอใหเกิดสภาวะแปลกแยกชัดเจน ภายในของสังคมการเมืองไทย
๕. ภายใตสถานการณบั่นทอนทําลายตอทั้งสิทธิในชีวิตและบูรณภาพความยั่งยืนของฐานทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ อันทรงคุณคาความสําคัญตอโลกโดยสวนรวม เชนนี้ ประกอบกับกระแสขบวนการเรียกรองสิทธิในหมูมวลชุมชนรากหญา ซึ่งขยายวงกวางขวางตอเนื่องและเขมขน สถานะความเปนตัวตนผูทรงสิทธิของชุมชนทองถิ่น จึงปรากฏตนเปนที่รับรูรับรองกวางขวางขึ้นโดยลําดับ ทั้งในแวดวงวิชาการและองคการโลกอยางเชน สหประชาชาติ ซึ่งกอตั้งขึ้นเพื่อสรางเสริมสันติภาพและสิทธิมนุษยชน ทั้งหลายทั้งปวงเหลานี้ เปนเหตุผลที่ชุดโครงการวิจัย “สิทธิมนุษยชนไทยในสถานการณสากล” หยิบยกขึ้นมาเปนประเด็นหลัก และพัฒนาตอมาเปน “สิทธิชุมชนศึกษา” ดังที่เอยอางถึงขางตน
๖. ในที่สุด โดยผลของกระแสมหาชนเรียกรองการปฏิรูปการเมือง ๒๕๓๕ – ๔๐ สิทธิชุมชนฐานทรัพยากรทองถิ่น จึงไดรับการบรรจุประกอบเปนสวนหนึ่งของ “สิทธิและเสรีภาพของของชนชาวไทย” ภายใตรฐธรรมนูญ “ฉบับประชาชน” ๒๕๔๐ โดยเฉพาะอยางยิ่ง “สิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะ หรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นและของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและยั่งยืน (มาตรา ๔๖) “สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการบํารุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุมครอง สงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อใหดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่อง ในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน “(มาตรา ๕๖) และ “บุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูลคําชี้แจงและเหตุผลจากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น กอนการอนุญาตหรือการดําเนินการโครงการ หรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลตอคุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต หรือสวนไดเสียสําคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนทองถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดของตนในเรื่องดังกลาว” (มาตรา ๕๙)
๗. นับเปนครั้งแรกที่เอกลักษณความเปนตัวตนของจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น ไดรับการรับรูรับรองตามรัฐธรรมนูญ อันเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ รวมทั้งมีความหมายความสําคัญในแงของการกระจายอํานาจสูชุมชนทองถิ่นอันเปนรากฐานของระบอบประชาธิปไตย
๘. ดังเปนที่ทราบกัน หลักการสิทธิชุมชนเปนอันตองเปนหมันไปเกือบจะในทันทีที่ประกาศใชรัฐธรรมนูญ “ฉบับประชาชน” ดวยเหตุหลักๆ อยางนอย ๓ ประการ คือประการแรก การที่ตองถูกกํากับไวดวยขอบัญญัติ “ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ” ซึ่งหมายถึงวา สิทธิชุมชนทองถิ่นตามรัฐธรรมนูญยังตองขึ้นอยูกับกฎหมายธรรมดาที่บัญญัติขึ้นจากศูนยอํานาจกลาง ประการที่สอง ปมปญหาวัฒนธรรมทางการเมืองใน
ระบบ “นักเลือกตั้ง” และวัฒนธรรมการอุปถัมภ อันเปนบอเกิดของการทุจริตคอรัปชั่นทั้งปวง และประการที่สาม เปนปมปญหาจากภายในของบรรดาชุมชนทองถิ่นเองที่ยังขาดการจัดตั้งรวมตัวเปนเครือขายอันหนึ่งอันเดียวกัน จึงเปนชองทางใหอํานาจอิทธิพลและผลประโยชนจากภายนอกกอความแปลกแยกและแตกแยกไดโดยงาย
๙. สถานการณบั่นทอนทําลายสิทธิชุมชนทองถิ่นเปนไปอยางเปนระบบขึ้น เมื่อกลุมทุนขนาดใหญพรอมดวยเสนสายโยงใยกับกลุมทุนเศรษฐกิจใหมระดับชาติและขามชาติ ทั้งภายในและภายนอก ไดโอกาสกาวขึ้นสูอํานาจดวยชัยชนะการเลือกตั้งกุมเสียงขางมากเด็ดขาดในรัฐสภา เปนชองทางใหตั้งตัวเองขึ้นเปนระบบอํานาจเบ็ดเสร็จของรัฐบาลพรรคเดียว เหนือกฎกติกาใดๆ ตามรัฐธรรมนูญเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน นั่นก็คือ รัฐธรรมนูญ “ฉบับประชาชน” เปนอันตองถูกลมลางไปโดยสิ้นเชิง จะมีหลงเหลืออยูบาง ก็เฉพาะในสวนที่เสริมสงระบอบอํานาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ในแบบฉบับที่แทบไมผิดเพี้ยนไปจาก “ประชาธิปไตยรวมศูนย” (Democratic Centralism) ที่เคยใชปฏิบัติมาในระบอบสหภาพโซเวียตสมัยสงครามเย็น
๑๐. บนพื้นฐานของอํานาจเบ็ดเสร็จในทวงทํานองประชาธิปไตยรวมศูนยนี้เอง เราจึงไดเห็นการดําเนินนโยบายมาตรการแบบ “ประชานิยม” โดยการหวานกระจายเงินงบประมาณของแผนดินลงไปในชนบท ซึ่งโดยสาระกคือ กุศโลบายการตลาดเพื่อสรางกําลังซื้อในหมูประชาชนรากหญานั่นเอง และในขณะเดียวกันกับที่เปดประตูใหพันธมิตรทุนชาติและขามชาติไดเขามาครอบครองครอบงําเศรษฐกิจไทย และฐานทรัพยากรธรรมชาติ ดังกรณีตัวอยางโดดเดน อยางเชน รางกฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ การเจรจาความตกลงการคาเสรี การขยายอาณาบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิออกไปเปนมหานคร ซึ่งลวนแลวแตสงผลกระทบเลวรายตอชีวิตและคุณภาพชีวิตของชุมชนทองถิ่น และฐานทรัพยากรสวนรวมของทองถิ่นทั้งสิ้น ในประการสําคัญ ขัดตอเจตนารมณและบทบัญญัติรัฐธรรมนูญดังกลาวขางตน
๑๑. การดําเนินนโยบายและอภิมหาโครงการเหลานี้ เปนไปโดยปราศจากความโปรงใส ขัดตอหลักการธรรมาภิบาล และขาดการกลั่นกรองตรวจสอบจากสถาบันรัฐสภาภายใตการครอบงําของเสียงขางมากเดดขาด เปดชองใหเกิดการทุจริตคอรัปชั่นอยางกวางขวาง ทั้งในภาคราชการและภาคเอกชน เปนเหตุใหเกิดกระแสการวิพากษตอตาน ซึ่งขยายวงออกไปอยางรวดเร็ว จนกลายเปนวิกฤตรุนแรงทางการเมือง และกระแสเรียกรองการปฏิรูปการเมืองอีกวาระหนึ่งในชั่วเวลาไมถึง ๙ ป ของการประกาศใชรัฐธรรมนูญ “ฉบับประชาชน”
๑๒.ความคิดอานปฏิรูปการเมือง จําเปนอยางยิ่งที่จะตองคํานึงถึงบทเรียนจากการปฏิรูปการเมือง ๒๕๓๕ – ๔๐ จนบรรลุผลได รัฐธรรมนูญ “ฉบับประชาชน” รับรองสิทธิเสรีภาพคอนขางสมบูรณโดย
ครอบคลุมไปถึงสิทธิชุมชนทองถิ่นดังกลาวขางตน หากแตไมเกิดผลใชบังคับอะไรจริง เพราะภายใตโครงสรางที่เปนอยูตกอยูในอุงอํานาจเบ็ดเสร็จของศูนยอํานาจกลาง อยางที่ทราบกนดี ดังนั้น กระบวนการวิธีการปฏิรูปการเมืองรอบสองนี้ จึงตองเปนไปโดยเปดโอกาสชองทางใหมวลสมาชิกชุมชนทองถิ่นเลือกผูแทนของตนเขามามีบทบาทโดยตรง ไมใชเพียงอาศัยผูรูผูเชี่ยวชาญจัดทํารางรัฐธรรมนูญสําเร็จรูปขึ้น แลวนําไปเสนอใหมี “การประชาพิจารณ “ซึ่งก็เปนรูปแบบที่ดีไมไดผิดอะไร เพียงแตวาไมไดเปนการเสริมสรางสํานึกของความเปนเจาของเพียงพอที่จะปกปองสิทธิตามรัฐธรรมนูญดวยตนเองโดยตรง
๑๓. รวมความแลว การปฏิรูปการเมืองจะตองประกอบดวยทั้งหลักการเนื้อหาสาระ และกระบวนวิธีการมีสวนรวมโดยตรงของมวลชุมชนทองถิ่น สวนจะกระทําในรูปแบบใด ก็เปนเรื่องที่พึงตองพิเคราะหกําหนดลูทางปฏิบัติกันตอไป
๑๔. กลาวโดยเฉพาะถึงหลักการเนื้อหาสาระของสิทธิชุมชนปฏิญญาเพื่อการปฏิรูปการเมืองนี้ ขอยืนยันในประเด็นที่เคยแสดงไวตาม “ปฏิญญาวาดวยสิทธิชุมชนทองถิ่น : รากเหงาประชาธิปไตย “มิถุนายน ๒๕๓๕ ซึ่งเปนผลสืบเนื่องจากงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ปาชุมชนในประเทศไทย : แนวทางการพัฒนา” โดยขยายเพิ่มเติมประเด็นใหมๆ เกี่ยวของกับปญหาเรื่องราวที่เกิดขึ้นในชวง ๑๕ ป หลังจากนั้นโดยเฉพาะเกี่ยวกับสิ่งที่ทึกทักกันวาเปนสิทธิขาดในทรัพยสินทางปญญา ภายใตอิทธิพลจากเทคโนโลยีชีวภาพ และธุรกิจการคา
๑๕. หลักการเนื้อหาสาระของสิทธิชุมชนทองถิ่น อาจประมวลเปนประเด็นสิทธิชุมชนทองถิ่นตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกันดังนี้ :
๑๕.๑ ทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพเปนของปวงชน รัฐและชุมชนทองถิ่นมีหนาที่รวมกันในการอนุรักษและพัฒนาการใชประโยชนอยางยั่งยืน
๑๕.๒ สิทธิชุมชนทองถิ่น พึงไดรับการสถาปนาสงเสริมจากรัฐดวยการกระจายอํานาจหนาที่ การบริหารจัดการ และสามารถแสดงออกซึ่งสิทธิเสียงไดตามรัฐธรรมนูญ
๑๕.๓ บรรดาขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี วัฒนธรรมและกฎเกณฑการจัดการทรัพยากรปาที่ชุมชนถือปฏิบัติเปนวิถีชีวิตสืบเนื่องกันมา ถือเปนสิทธิชุมชนทองถิ่นที่รัฐพึงใหการรับรองเปนสวนหนึ่งของนโยบายแหงชาติ
๑๕.๔ สิทธิชุมชนที่วานี้ จะตองปราศจากการแทรกแซงจากรัฐ
๑๕.๕ รัฐพึงทบทวนกฎหมายและนโยบายทั้งหมดที่เกี่ยวของกัน การจัดการทรัพยากรปา
๑๕.๖ รัฐพึงทบทวนนโยบายและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และปรับแกไขใหไปในทิศทางที่เปนเสรี สมดุล ยั่งยืน และเปนธรรม
๑๕.๗ ชุมชนทองถิ่นในฐานะเปนผูดูแลและอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอันเปนตนทุนของคนทั้งชาติ พึงตองไดรับการสงเสริมสนับสนุนดานเงินอุดหนุน
๑๕.๘ สิทธิที่จะควบคุมการเขาถึงและแสดงความเปนเจาของในพันธุพืช และแรธาตุอันจําเปนยิ่งยวดตอวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่น
๑๕.๙ สิทธิในมาตรการพิเศษเพื่อคุมครอง และพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการแสดงออกทางวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่นรวมไปถึงทรัพยากรมนุษยและทรัพยากรทางพันธุกรรมอื่นๆ เมล็ดพันธุ ยา ความรูในคุณสมบัติของพืชและสัตว จารีตมุขปาฐะ วรรณกรรม งานออกแบบ และทัศนศิลป และศิลปะการแสดง
๑๕.๑๐ สิทธิในคาสินไหมทดแทนที่เปนธรรมเหมาะสมสําหรับการอันใดก็ตามที่กอใหเกิดผลกระทบคุกคามในทางสภาพแวดลอม เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม หรือจิตวิญญาณ
๑๖. เพื่อใหสัมฤทธิผลตามหลักการและเนื้อหาของสิทธิชุมชนทองถิ่นดังกลาว บรรดาชุมชนทองถิ่นทั่วประเทศทั้งในระดับของชุมชนฐานทรัพยากรและในระดับเขตการปกครองทองถิ่นพึงประสานรวมมือรวมใจกัน เพื่อเขามีสวนรวมในกระบวนการปฏิรูปการเมือง และควบคุมดูแลใหสิทธิตามรัฐธรรมนูญบังเกิดผลบังคับอยางแทจริงในทางปฏิบัติ
๑๗. ควบคูไปกับการรวมตัวเตรียมการเขารวมกระบวนการปฏิรูปการเมืองโดยตรง มวลชุมชนทองถิ่นทั่วประเทศ พึงรวมตัวรวมใจกันจัดตั้ง “สมัชชาสิทธิชุมชน” ขึ้นเพื่อสงเสริมใหกระจายอํานาจไดเปนมรรคเปนผลอยางแทจริงในการปกปองคุมครองฐานทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพอันเปนตนทุนของชาติ
๑๘.ปฏิญญาวาดวยสิทธิชุมชนทองถิ่นนี้ ถือเปนหลักการและแนวทางในฐานะวาระแหงชาติ เพื่อบรรลุผลตอการพัฒนาที่ยั่งยืนและเปนธรรม ผูรวมประชุมอันประกอบดวย ผูนําชุมชนทองถิ่น องคกรภาคประชาสังคม ผูทรงคัณวุฒิ นักวิชาการ ผูรักความเปนธรรม และคณะวิจัย จึงขอรวมกันประกาศแสดงฉันทมติไว ณ ที่นี้ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙
สิทธิชุมชนกับมิติปฏิรูปการเมืองจากภาคประชาชน
พวกเราชุมชนทองถิ่นมีบทบาทการจัดการทรัพยากรธรรมชาติมาอยางยาวนานจากทั่วประเทศ ไดมาประชุมเวทีวิชาการสาธารณะเรื่อง “สิทธิชุมชน: มิติการปฏิรูปการเมือง” ในวันที่ ๑๔– ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ณ สภาคริสตจักรในประเทศไทย เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ ความรูในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ตลอดจนแสวงหาแนวทางในการผลักดันใหเกิดการปฏิรูปการเมืองตามแนวทางของสิทธิชุมชนตอฐานทรัพยากร วิถีชีวิต เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
พวกเรามีขอสรุปรวมกันวา การปฏิรูปการเมืองที่เกิดขึ้น และที่เปนกระแสอยูในขณะนี้ ยังไมไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางดานการจัดการทรัพยากรและการพัฒนา ที่ซึ่งจะทําใหชุมชนมีสิทธิในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการมีสวนรวมของประชาชนคนรากหญาไดอยางแทจริง เพราะหากกระแสการปฏิรูปการเมืองยังวนเวียนอยูเฉพาะโครงสรางอํานาจในสวนบน หรือเฉพาะตัวบทกฎหมายในรัฐธรรมนูญ ก็ยังไมถือวาเปนการปฏิรูปการเมืองที่ตอบสนองปญหา และความตองการของพวกเราไดอยางแทจริง
ดวยเหตุนี้ ที่ประชุมแหงนี้จึงขอเสนอแนวคิด เหตุผล และแนวทางการปฏิรูปการเมืองตามแนวทางสรางสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากร การพัฒนา และการกําหนดตัวตน ซึ่งเปนหลักการที่
สอดคลองกับวัฒนธรรม ประเพณีของชุมชนทองถิ่นตลอดจนไดรับการรับรองไวในรัฐธรรมนูญ
แลวดังตอไปนี้
สาเหตุ และปญหาของการละเมิดสิทธิชุมชน
• ฐานทรัพยากรของชุมชนและปาเขตรอนถูกทําลาย ผูกขาดโดยรัฐและทุน สงผลใหเกิดการสูญเสีย ความเสื่อมโทรม และการลมสลายในชุมชนทองถิ่น
• ภายใตแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจเสรีและโลกาภิวัตนจึงเกิดการละเมิดสิทธิอยาง กวางขวางทั้งภายในชุมชน และภายนอกชุมชน ดังนั้นการสรางและพัฒนาสิทธิ ชุมชนใหเกิดขึ้นอยางจริงจัง เพื่อแกไขปญหาการสูญเสียฐานทรัพยากรเขตรอน ความขัดแยง ความรุนแรงในสังคม และการลมสลายของชุมชน
• ระบบรัฐ นโยบาย กฎหมาย กลไก ตลอดจนสถาบันการเมืองตางๆ ที่เปนอยูในขณะนี้ ไมยอมรับการมีสวนรวมของภาคประชาชน ทําใหเปนอุปสรรคตอการปฏิรูปการเมืองบนฐานสิทธิชุมชนอยางแทจริงและยั่งยืน
หลักการพื้นฐานการปฏิรูปการเมืองบนฐานสิทธิชุมชน
• ชุมชนมีสิทธิจัดการทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปญญาทองถิ่นตามวิถีวัฒนธรรม ประเพณี และตามรัฐธรรมนูญ
• สิทธิชุมชนไมใชเรื่องเฉพาะของทองถิ่น แตเปนหลักการสากลที่ไดรับการรับรองโดยขอตกลง ปฏิญญา อนุสัญญาระหวางประเทศหลายฉบับ ดังนั้นทิศทางปฏิรูปการเมืองจึงตองสอดรับกับหลักการสากล
• ปฏิรูปการเมืองคือ ประชาชนตระหนักสิทธิตนเอง และเขาไปมีสวนรวมในการกําหนดกฎเกณฑ กติกา นโยบาย กฎหมาย และกลไกตางๆ ตลอดจนปฏิบัติการใดๆ เพื่อพิทักษสิทธิของชุมชน
• การปฏิรูปการเมืองไมใชเรื่องเฉพาะรัฐบาล พรรคการเมือง นักวิชาการ แตเปนเรื่องของประชาชน ดังนั้นชุมชนมีสิทธิในวิถีชีวิต การจัดการทรัพยากรโดยพื้นฐาน แตการไดรับสิทธินั้นชุมชนจะตองแข็งแรง มีจิตใจตอสู รวมกลุม และทํางานตอเนื่อง
ขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย นโยบาย และกลไกรัฐ
• ใหมีกฎหมายสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากร เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง อยางหลากหลายและสอดคลองกับพื้นที่ และสิทธิในการไดรับการชดเชยจากผลกระทบการพัฒนาใดๆ ที่ทําลานฐานทรัพยากรและวิถีชีวิตชุมชน ตลอดจนใหมีกลไกสนับสนุนและตรวจสอบในทางนโยบาย วิชาการ และงบประมาณเพื่อใหไดรับการปฏิบัติอยางจริงจัง
• ใหมีการปฏิรูปกฎหมาย และกลไกดานสื่อ เพื่อใหชุมชนมีสิทธิในการสื่อสารอยางเปนอิสระ
• ประชาชนมีสิทธิที่จะตรวจสอบ ฟองรอง ไปจนถึงขั้นเขาชื่อปลดผูแทนราษฎร วุฒิสมาชิก หรือนักการเมืองอื่นๆ ตลอดจนราชการที่สรางผลกระทบตอทรัพยากรและชุมชน ไมทําตามเจตนารมณของประชาชน และไมเปนไปตามรัฐธรรมนูญ
• ใหมีการแกกฎหมายที่ละเมิดสิทธิชุมชน เชน กฎหมายปาไม กฎหมายที่ดิน และอื่นๆ ใหสอดคลองตามหลักการสิทธิชุมชนในรัฐธรรมนูญและตามวิถีชีวิตของชุมชน
• ปฏิรูประบบราชการใหม โดยพัฒนากลไกราชการทั้งระบบใหสอดรับกับหลักการสิทธิชุมชน และปรับยุบกลไกราชการที่ประจักษชัดวาลมเหลวในการจัดการทรัพยากร หรือยังรวมศูนยอํานาจ เชน ระบบผูวาฯ ซีอีโอ และใหสรางกลไกใหมใหชุมชนมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากร
• ยุติกฎหมาย นโยบาย โครงการใดๆ ที่กระทบตอฐานทรัพยากรและการดํารงชีพของชุมชน ชุมชนมีสิทธิเขาชื่อในการยกเลิกกฎหมาย นโยบาย โครงการดังกลาว
แนวทางการปฏิบัติ
• ประชาชนควรเรงศึกษา ตรวจสอบ นโยบาย กฎหมาย และกลไกของรัฐในทุกระดับกระทบตอทรัพยากรและชุมชน และใชสิทธิทางกระบวนการยุติธรรมฟองรองเจาหนาที่รัฐหรือใครก็ตามที่สรางผลกระทบตอชุมชน เพื่อใหสิทธิชุมชนไดรับการรับรองจากกระบวนการยุติธรรม
• ประชาชนควรทําความเขาใจเงื่อนไข ปญหา และจุดแข็งของตนเองทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน และสังคม เพื่อปฏิรูปตนเองใหเกิดความเขมแข็ง
• ภาคประชาชนควรเรงสื่อสาร รณรงคตอสาธารณะในเรื่องสถานการณปญหา และบทบาทของชุมชนในการจัดการทรัพยากรปาเขตรอน
• ผลักดันใหมีกองทุนและกระบวนการตางๆ ชวยเหลือผูถูกคดีจากการใชสิทธิชุมชน หรือผูสูญเสียจากการใชสิทธิชุมชน
• ผลักดันใหมีกองทุนหรือธนาคารที่ดินที่ทําหนาที่ซื้อที่ดินที่มีความสมบูรณนิเวศ และเปนฐานทรัพยากรที่สําคัญของชุมชนคืนจากเอกชนใหแกชุมชน
• ผลักดันใหมีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารอยางจริงจัง
• ควรมีกระบวนการสงเสริมการวิจัยสิทธิชุมชนใหทั่วถึงและตอเนื่อง โดยเนนการเสริมสรางทุนชุมชน ทุนสังคมใหเขมแข็ง
• พัฒนาหลักสูตรทองถิ่นในดานชุมชนกับทรัพยากร ตลอดจนสงเสริมทั้งดานงบประมาณ และอื่นๆ ใหชุมชนและโรงเรียนนําหลักสูตรดังกลาวไปปฏิบัติไดจริง
• รวมกันกอตั้งและเสริมสรางเครือขายสิทธิชุมชนใหเชื่อมโยงทั่วประเทศ
๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙
Be the first to comment on "ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิชุมชนท้องถิ่น : ฐานปฏิรูปการเมือง"