ข้อมูลพื้นฐาน ลุ่มน้ำท่าเชียด จ.พัทลุง

ลุ่มน้ำท่าเชียด

1.ลำดับความสำคัญการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่

  • ป่าลดน้อยลง
  • ชุมชนเพิ่มขึ้น,บุกรุกคลอง ก่อสร้างขวางทางน้ำ
  • ขุดลอกเปลี่ยนทางน้ำ, สร้างถนนขวางทางน้ำ
  • ถมที่ปิดทางระบายน้ำ
  • ดูดทราย, ระบบนิเวศน์เปลี่ยน
  • ชุมชนไม่ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา

2.ประเมินความเสี่ยง, บริเวณเกิดภัย, ระดับความแรง ผลที่เกิดและผลกระทบ

  • ต้นไม้น้อย น้ำไหลเร็ว
  • คลองแคบ ระบายช้า, น้ำไหลป่าท่วมชุมชน 
  • ถมท่อ ปิดทางระบายน้ำธรรมชาติ, ถมที่ในการปลูกสร้าง

จุดเสี่ยง

  • คลองใหญ่ ม.6,7,8,9
  • ตะโหมด ม.4,12,7
  • แม่ขรี สามแยกทางเข้าอำเภอ 4,7
  • เขาชัยสน ม.9 ท่ากุล, ม.1คลองใอ้โต, ม.14 ป่ายูง,ม.5 ตกเขา, ม.6 เขาพราย, ม.3 เขาชัยสน,ม.10, ม.13, 2, 4
  • บางแก้ว ม.8 ทุ่งโต๊ะย๊ะ 34 ม.ทั้งพื้นที่

ระดับความแรง

  • คลองใหญ่ 6,7,8 ท่วมขังนาน ม.9 ไหลผ่าน 
  • แม่ขรี,ตะโหมด ทางผ่านน้ำไหลผ่าน
  • บางแก้ว นาปะขอ ท่วมขังน้ำทะเลหนุน ท่ามะเดื่อ,โคกสัก ไหลผ่าน
  • เขาชัยสน จองถนน ท่วมขังน้ำทะเลหนุน ม.9 ท่ากุล เขาชัยสน ท่วมขังระบายได้

3.ผลกระทบ

  • ไม่ได้กรีดยาง ตะโหมด(33 ม.),(บางแก้ว 34 ม.),เขาชัยสน(60 ม.)
  • ไม่ได้ทำงาน,ไม่มีรายได้ เวลาฤดูฝน 3 เดือน ผลทั้ง 3 อำเภอ 80%
  • นาข้าวเสียหาย บางแก้ว 3,416 ไร่, ตะโหมด 800 ไร่, เขาชัยสน 1,000ไร่
  • ยางพารา ตะโหมด 600 ไร่, บางแก้ว800 ไร่, เขาชัยสน
  • ปาล์ม บางแก้ว 700 ไร่
  • ประมง บางแก้ว 1,000 ไร่,  ตะโหมด 20%, เขาชัยสน 10%
  • ปศุสัตว์ ตะโหมด 80%, บางแก้ว 70%, เขาชัยสน 30%
  • พื้นที่การเกษตรกร ตะโหมด 50%, บางแก้ว 80%, เขาชัยสน 30%
  • อุตสาหกรรม ทั้ง 3 อำเภอ 30%

3.ระบุ/แสดง-คอขวด จุดวนกลับ จุดอ่อน(เปราะบาง)

คอขวดจุดวนกลับจุดอ่อน
ตะโหมด -ต.คลองใหญ่ ม.8-ตะโหมด ม.4,12 วัดตะโหนด-แม่ขรี ม.5,7,1ม.8ม.6,7,8 เทือกเขาบรรทัด
บางแก้ว เป็นที่รับน้ำ ถนนเอเชีย ทางรถไฟเปราะบางทั้งพื้นที่เป็นพื้นที่รับน้ำ น้ำทะเลหนุน
เขาชัยสน ถมที่ขวางทางน้ำ ก่อสร้างขวางทางระบายน้ำ

4.การรับมือ

  • เครือข่ายคนกรีดและชาวสวนยางรายย่อย จ.พัทลุง
  • จัดตั้งกองทุนข้าวสาร
  • สร้างธนาคารอาหารข้าวบ้าน
  • สร้างธนาคารเครือข่ายฯ

การประสานงาน

ภาคี, ภาครัฐ, ภาคปชช.(สมาคมพัทลุง,สภาเกษตร,เพื่อนรามทักษิณ,สิทธิมนุษยชน,ปศุสัตว์พัทลุง,การยางแห้งประเทศไทย,พอช.,พมจ.,สัมพันธ์ส่วนบุคคลในเครือข่าย,เทศบาล)

การปรับตัว

  • ปลูกพืชผักที่ยกหนีน้ำได้
  • เลี้ยงปลา,กบในบ่อซีเมนต์
  • เตรียมพื้นที่สำหรับไว้ของเวลาน้ำหลาก
  • เตรียมอาหารไว้ล่วงหน้า เช่น กะปิ,น้ำปลา,หอม,กระเทียอม,เกลือ
  • หาปลา (ตกเบ็ด,ดักกัด,ทงเบ็ด,ดักไซ)
  • หาผัก
  • หน่อไม้
  • หากบ
  • ขุดแมงเม่าขายคนที่ไปตกปลากิโลละ 700บาท 
  • เลี้ยงจิ้งหรีดขายคนไปตกปลา กิโลละ 300 บาท
  • หาขี้ยางขาย
  • ทุกอย่างเหลือกินก็จะขาย