การเสวนาวิชาการ “ความเสี่ยงภัย (ใหม่) : ความหมายที่หลายหลากของภัยพิบัติ”
วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน 2561 เวลา 9.00-15.30 น.
ณ ห้องประชุมจั๊คส์ อัมโยต์ ชั้น 4 อาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ
Table of Contents [hide]
“ศูนย์เชื่อมโยงความรู้และวิจัยนวัตกรรมด้านภัยพิบัติ”
สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โดย รศ.ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่ง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผศ.ดร.อุ่นเรือน เล็กน้อย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาวะอากาศฝนฟ้าและพายุ “รุนแรงสุดขั้ว” (the extreme weather) ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง หรือสองฝั่งมหาสมุทร ส่งผลกระทบกับอากาศ-ฝน-น้ำท่าในพื้นที่หรือไม่ ?
วิทยากร โดย
คุณบุญเลิศ อาชีวระงับโรค ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการวิจัยและพัฒนาอุตุนิยมวิทยา
รศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ ผู้อำนวยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติมหาวิทยาลัยรังสิต
ดร.สมพร ช่วยอารีย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ผู้ดำเนินรายการ: ดร.กฤษฎา บุญชัย หน่วยปฏิบัติการวิจัยสังคมชาวนาร่วมสมัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“อุทกวิทยาแม่น้ำโขงกับสภาพอากาศรุนแรงสุดขั้ว (the extreme weather) และ ผลกระทบต่อ พื้นที่ชุมชนไทย-ลาว”
วิทยากร โดย
ดร.พงษ์ศักดิ์ สุทธินนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดร.วิเชียร เกิดสุข สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คุณไมตรี จงไกรจักร มูลนิธิชุมชนไท
ผู้ดำเนินรายการ: ดร.กฤษฎา บุญชัย หน่วยปฏิบัติการวิจัยสังคมชาวนาร่วมสมัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสวนา “รับมือความเสี่ยงภัยด้วยกลไกบูรณาการระดับพื้นที่” : ตัวอย่างการลดทอนความเสี่ยงภัย แม่สอด /น่าน/สกลนคร
วิทยากร โดย
ดร.พลภัทร เหมวรรณ ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือ
รศ.ดร.สมบัติ ชื่นชูกลิ่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
คุณเพลินใจ เลิศลักขณาวงษ์ ประชาคมแม่สอด จังหวัดตาก
ผศ.ดร.ปทุมทิพย์ ม่านโคกสูง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ผู้ดำเนินรายการ: คุณเบญจมาส โชติทอง สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
เอกสารประกอบ
(กดดาวน์โหลดโดย คลิก ที่รูปได้เลย)
พื้นที่แม่สอด
พื้นที่น่าน
พื้นที่สกลนคร