Articles by Admin



ทฤษฎีกระบวนระบบ (System Thinking)

ทฤษฎี (Theory) มีรากศัพท์มาจาก Theory (ละคร) เป็นการสะท้อนภาพของมนุษย์ เป็นภาพจำลองของชีวิต ภาพสะท้อนของสังคม มนุษย์มักจะคิดว่า ทฤษฎีเป็นเรื่องที่ถูกต้องแล้ว สามารถปฏิบัติตามได้


วิทยากรกระบวนการ เงื่อนไขสำคัญของการถอดบทเรียนแบบการวิเคราะห์หลังการปฏิบัติการ

      วิทยากรกระบวนการควรมีความเชื่อมั่นในศักยภาพของผู้ด้อยโอกาส เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และเชื่อมั่นว่าความรู้ที่มีอยู่ในตัวทุกคนซึ่งเป็นความรู้ที่มาจากประสบการณ์



แผนที่ผลลัพธ์คืออะไร

แผนที่ผลลัพธ์ (outcome mapping) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและการประเมินผลการทำงาน ที่มาเสริมวิธีการประเมินผลรูปแบบเดิม โดยที่ “แผนที่ผลลัพธ์” ให้ความสนใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนงานพัฒนา นั่นคือ


Mind Mapping

Mind map คืออะไร Mind map ประกอบด้วยคำ หรือ ความคิดรวบยอด (concept) ที่เขียนไว้ตรงกลาง และถูกเชื่อมโงด้วยเสนความสัมพันธ์ที่แทนความคิดหลัก 5- 10 เส้น และ ลากเส้นของความคิดย่อย 5-10 เส้นที่สัมพันธ์กับคำที่เป็นความคิดหลักเหล่านั้นอีกต่อหนึ่ง



การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อแสวงหาอนาคตร่วมกัน Future Search Conference (FSC)

Future Search Conference หรือการประชุมเพื่อค้นหาอนาคต เป็นเครื่องมือ หรือเทคนิคการประชุมแบบมีส่วนร่มที่เพิ่งมีการนำมาใช้ในสั้งคมไทยไม่นานนัก และยังใช้กันอยู่ในวงจำกัด การค้นหาอนาคต คืออะไร


จส.100 : สำนึกทางสังคมของชนชั้นกลางในเมือง

ทุกวันนี้คนที่ใช้รถใช้ถนนในกรุงเทพมหานคร น้อยคนนักที่จะไม่รู้จักรายการวิทยุรายการหนึ่ง ที่อาสาตัวเองเข้ามาทำหน้าที่ ในการนำเสนอสภาพการจราจรในเมืองหลวง ตลอด 24 ชั่วโมง ภายใต้ชื่อรายการที่เรียกกันติดปากว่า “จส.100″ และถ้าหากสังเกตให้ดีจะพบว่ารายการวิทยุดังกล่าว ไม่ได้เป็นที่รู้จักเฉพาะแวดวงของคนใช้รถใช้ถนนเท่านั้น หากยังเป็นที่กล่าวถึง ของนักวิชาการในมหาวิทยาลัย ในฐานะที่เป็นปรากฏการณ์ที่แสดงถึงสำนึกรับผิดชอบ ต่อปัญหาของสังคม ประกอบกับการทำงานของกลุ่มผู้รายงานการจราจรผ่าน จส. 100 จะเป็นภาพความเคลื่อนไหวของกลุ่มคน ที่มีอุปกรณ์เครื่องมือเป็นที่สังเกตได้ง่าย เช่น รถยนต์ที่ใช้ขับตามท้องถนนและมีโทรศัพท์มือถือ หรือที่ภาษาทางการเรียกว่า “โทรศัพท์เคลื่อนที่”ด้วยองค์ประกอบต่างๆ ทั้งในด้านอุปกรณ์…


อารยะสังคมกับสันติวิธีในสังคมไทย

การแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี เป็นวิธีการที่น่าจะเหมาะสมกับสังคมไทย ซึ่งมีวัฒนธรรม จารีตประเพณี ที่ผู้คนมีความเอื้ออาทรเป็นพื้นฐาน แต่หลายครั้งสังคมเลือกใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง อาจารย์ชัยวัฒน์ สถาอนันต์ อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จะวิเคราะห์สังคมไทยถึงโครงสร้างของปัญหาที่นำไปสู่ความรุนแรง และสันติวิธีจะเกี่ยวข้องกับประชาสังคมอย่างไร


จับตา “การปฏิรูปสื่อ” สงครามแย่งชิงพื้นที่สื่อสาร สู่การรักษา “สิทธิ” บนพื้นที่สาธารณะ

แท้ที่จริงแล้วจุดเริ่มต้นของ “การปฏิรูปสื่อ” ไม่ได้เริ่มต้นเพราะความเป็น “กระแส” กำลังมีเรื่องการปฏิรูปในเรื่องต่าง ๆ ของสังคมไทย ในเวลานี้ ทั้งยังไม่ได้เริ่มต้นเพียงเพราะการมี “มาตรา 40” บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 แต่จุดเริ่มต้นจริง ๆ ของกระแสการเรียกร้องให้มีการปฏิรูปสื่อนั้น เริ่มต้นมาตั้งแต่เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ซึ่งเป็นกระแสการเรียกร้องที่มาพร้อมกับ การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพและประชาธิปไตย เหตุการณ์เผาตึกกรมประชาสัมพันธ์ ถนนราชดำเนิน สะท้อนให้เห็นถึงความเก็บกด…