บทความ

ทิศทางการแปรรูปช่อง 11 ก้าวหน้าหรือถอยหลัง

สุรนันทน์ ยืนยัน ปรับโครงสร้างสทท. 11 ไม่มุ่งการค้าหรือเข้าตลาดหลักทรัพย์ ขณะที่นักวิชาการเชื่อ แปรรูปเพื่อยึดเป็นสื่อของรัฐแบบเบ็ดเสร็จ และเปิดแข่งขันเสรี แต่มิได้เป็นทีวีบริการสาธารณะอย่างแท้จริง …


สื่อ…กับความเข้มแข็ง…ของชุมชน

“ข้าราชการต้องอยู่เฉย ๆ ให้มาก นิ่งแล้วฟัง ควรฟังว่าชาวบ้านพูดอะไร มากกว่าฟังว่าเขาพูดอย่างไร ต้องไม่ใช่การไปจับผิดเขา”  แทบไม่น่าเชื่อว่า เสียงที่ได้ยินข้างต้น คือ คำพูดของข้าราชการคนหนึ่งต่อการเกิดขึ้นของวิทยุชุมชนในท้องถิ่นที่เขาพำนักอยู่…


ใช้ “จิตสำนึกสาธารณะ” สร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

ในท่ามกลางสภาวะการสื่อสารไร้พรมแดนที่ซับซ้อน เชื่อมโยงทุกภาคส่วนบนโลกเข้าหากัน จนดูเสมือนว่าโลกใบนี้เล็กลงไปทุกขณะ ประเทศไทยเอง ก็หนีไม่พ้นการเข้าไปอยู่ในวังวนของกระแสโลกาภิวัฒน์ ที่มุ่งหลอมรวมทุกอย่างให้คล้ายคลึงกัน…


สร้างชีวิตที่อยู่เย็น – เป็นสุข ด้วย พลังประชาชน

เมื่อประมาณสี่ทศวรรษที่ผ่านมา บริเวณชายฝั่งทะเลสาปยูเนี่ยน ในรัฐวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา เกิดชุมชน “บ้านเรือ” ของคนชั้นกลางและยากจนรายรอบทะเลสาป ทำความไม่พอใจให้นักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม…


เมื่อชุมชนตื่นตัวขอมีส่วนร่วม “ ออกแบบชีวิตและกำหนดอนาคตตนเอง”

“ …ภาพไม่ชัดก็จะพากันวิ่งแล้ว  ไม่รู้ว่าเป็นอะไรก็จะพากันไปแล้ว จะไปชนอะไร จะเป็นอะไร เรายังไม่รู้เลย  โจทย์ของเราคือว่า ความคิดที่แตกวงอะไรออกไป มันจะมาสรุปตรงที่ว่า เราจะต้องกำหนดอนาคตของเราเอง…


ปริมณฑลสาธารณะกับการเมืองภาคพลเมือง

หลังการเข้าทำงานในสมัยที่สองรัฐบาลพรรคไทยรักไทยก็เกิดอาการฟอร์มตก ถูกปัญหาสารพัดเข้ารุมเร้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น ได้สั่นคลอนความเชื่อถือและความนิยมของประชาชนอย่างหนัก


พลิกทุ่งฟื้นทุนของ “กลุ่มรักษ์เขาชะเมา”

เป็นเวลาหนึ่งทศวรรษแล้วที่กลุ่มเยาวชนรักษ์เขาชะเมาได้รวมตัวกันทำกิจกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ในชุมชนบ้านเกิด เวลาสิบปีผ่านไป ทำให้เยาวชนจำนวนหนึ่งเติบโตขึ้นทั้งกายใจและความคิด…


ร่วมสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุข

มนุษย์ทั่วโลกล้วนปรารถนาความอยู่เย็นเป็นสุข และรู้ว่าความอยู่เย็นเป็นสุขเป็นอย่างไร รวมทั้งรู้ว่าทำอย่างไร นักปราชญ์และศาสดาต่าง ๆ ล้วนสอนวิธีทำให้ชีวิตมีความสุขหรือพ้นทุกข์ และการอยู่ร่วมกันด้วยความสุข …


“สื่อ” วิทยุท้องถิ่น ต่อรองมาตรการ 30 วัตต์ 30 เมตร 15 กิโลฯ

กลุ่มเครือข่ายผู้ประกอบวิทยุท้องถิ่นไทยพบ “สุรนันท์ ต่อรองขอผ่อนผันมาตรการ 30 วัตต์ 30 เมตร 15 กิโล” เพื่อยื่นหนังสือขอโอกาสให้กลุ่มวิทยุท้องถิ่นสามารถดำเนินการภายใต้กรอบกำลังส่งไม่เกิน 500 วัตต์ เสาสูงไม่เกิน 60 เมตร รัศมีกระจายเสียงภายในจังหวัด


สถาบันพัฒนาสื่อภาคประชาชน เรียกร้องรัฐเยียวยาความเสียหายวิทยุชุมชน

ดร.เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์ ประธานสถาบันพัฒนาสื่อภาคประชาชน เดินทางไปยื่นหนังสือร้องเรียนต่อ นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี


จรรยาบรรณของนักวิจัย

จรรยาบรรณเป็นข้อประพฤติปฏิบัติอันเป็นเรื่องแคบเข้ามากว่าธรรมะในการวิจัย จรรยาบรรณในการวิจัยหรือจรรยาบรรณของนักวิจัยในประเทศพัฒนาแล้วที่มีการพัฒนาก้าวหน้าด้านการวิจัยมาเป็นเวลาช้านานเป็นร้อยๆ ปี


ทิศทางอนาคตวิทยุชุมชน

วิทยุชุมชนเป็นสมบัติของชุมชนหนึ่งๆ ชุมชนนั้นเป็นเจ้าของร่วมใช้ร่วมรับผิดชอบ ร่วมรับประโยชน์แล้ววิทยุชุมชนต้องยึดหลักว่าคนในชุมชนเป็นได้ทั้งคนพูดและคนฟัง….(ดร.เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์)