บทความ

ปรับฐานคิดสังคมไทย

นายชัยวัฒน์กล่าวว่า ฐานคิดสังคมไทยจากนี้ต้องคิดไปให้ไกลกว่าแค่หลัง “รัฐบาลทักษิณ” ถ้าเราคิดให้ไกล คิดกันใหญ่ และคิดกันให้ลึก สิ่งที่ควรคิดต่อไปคือ “โพสต์สุรยุทธ์ จุลานนท์” “โพสต์ คมช.” เราไม่ควรจะมองโลกแบบหลับตา ต้องมองเห็นอย่างที่มันเป็น ….


รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ วิเคราะห์รัฐธรรมนูญ 2549

ศ.รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ วิเคราะห์รัฐธรรมนูญชั่วคราว พ.ศ. 2549 เมื่อวันที่ 9 ต.ค. 2549 ที่ผ่านมาในการอภิปรายหัวข้อ ‘รัฐธรรมนูญชั่วคราว พ.ศ.2549 กับการปฏิรูปการเมือง’ ที่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์….


สัมภาษณ์พิเศษ เสน่ห์ จามริก : เคลียร์วาทะ ‘รัฐประหารคือทางออกที่เหลืออยู่’

ปี 2549 บรรจุเรื่องราวมากมายเหลือเกินสำหรับสังคมการเมืองไทย ‘รัฐประหาร’ เป็นจุดพีคหนึ่งที่เขย่าสังคมไทยอย่างรุนแรงและก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงมากมาย


วิถีชีวิตชาวนา-ปลากระชัง บ้านสร้าง

ทะเล แม่น้ำ คู คลอง และภูเขาเป็นทรัพยากรของชาติทั้งสิ้นมนุษย์เราก็เช่นกันเป็นทรัพยากรของประเทศชาติ ต้องได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างเท่าเทียมกันอย่างยั่งยืนและตลอดไป


รายงานเสวนาพรบ.ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

สืบเนื่องจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ผ่านวาระแรกของร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. … ที่กระทรวงไอซีทีเสนอผ่านคณะรัฐมนตรีไปแล้วเมื่อวันที่ 15 พ.ย. ที่ผ่านมา


ผู้เลี้ยงปลากระชังปราจีนเตรียมยื่นนายกแก้ปัญหา

ปราจีนบุรี / เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาในกระชังเผยโรงงานทำกระดาษปล่อยน้ำเสียลงแม่น้ำทำน้ำเสียปลาในกระชังตายอื้อเกษตรกรขาดทุนยับ แจงร้องจังหวัดแต่เงียบ เผยเตรียมเข้าพบนายกแก้ปัญหา


การปฏิวัติวัฒนธรรมสื่อต้องศัลยกรรมทัศนคติคนไทยใหม่

แม้โลกเคลื่อนไปไกลแต่ทัศนคติของคนไทยยังคงวิ่งอยู่ไม่ไกลนัก เราคงต้องไปทำศัลยกรรมกันใหม่ เพื่อให้รัฐธรรมนูญและการปฏิวัติวัฒนธรรมสื่อได้รับการเปลี่ยนโฉมหน้าในสังคมไทย


ผู้แทนสื่อวิทยุโทรทัศน์ เสนอแนวทางการคัดเลือกสมาชิกสมัชชาแห่งชาติแบบแบ่งภาค

“สัดส่วนสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จะเป็นตัวสะท้อนถึงความจริงใจของ คมช. และประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ว่าเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการสร้างประชาธิปไตยอย่างแท้จริงหรือไม่” นายบุญยอดกล่าว…


“ความเข้มแข็งของท้องถิ่น” กับ ระบบประชาธิปไตยเชิงจริยธรรม

การเมืองภาคพลเมือง ภาคประชาชน ไม่ได้หมายความแต่เพียงว่ามาร่วมชุมชนกัน มาร่วมพลังกัน เดินขบวน…การเมืองภาคพลเมืองไม่มีวันเข้มแข็งถ้าชุมชนท้องถิ่นยังไม่มีความเป็นตัวตน    อัตลักษณ์จะต้องทำให้เป็นรูปธรรมโดยผ่านการทำความรู้จักว่าเรามีต้นทุนอะไรบ้างทั้งทรัพยากร สังคม วัฒนธรรม…


ไม่มี “ชีวิตสาธารณะ” ในกรุงเทพมหานคร(กทม.)

สุจิตต์ วงษ์เทศ…“ชีวิตสาธารณะ” เป็นข้อความที่อาจารย์ ดร.อรรถจักร สัตยานุรักษ์ (แห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่) บัญญัติขึ้นแล้วอธิบายว่าหมายถึงสำนึกเราในฐานะคนคนหนึ่ง


ใต้กระแส : ชีวิตสาธารณะกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น

สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา(LDI) และเครือข่ายพันธมิตรได้จัดการสัมมนาเวทีวิชาการประชาสังคมเรื่อง “ทำการเมืองภาคพลเมืองในท้องถิ่นไทย: ความท้าทายของยุคสมัย”


กำหนดอนาคต…ท้องถิ่น ด้วยการพัฒนาฐานคิด สร้างชีวิตสาธารณะเมืองแม่สอดที่เข้มแข็ง

ถึงแม้จะยังไม่เข้าใจดีนักในช่วงแรกๆ กับความหมายของคำว่า “ชีวิตสาธารณะ-ท้องถิ่นน่าอยู่” แต่คณะทำงานประชาคมแม่สอด จังหวัดตาก