บทความ

ประสบการณ์ประชาสังคม(4) : “ประชาคมกอบบ้านกู้เมือง 2541”

            ผมกับคุณหมอทวีศักดิ์(พอ.นพ.ทวีศักดิ์ นพเกษร) เดินทางมาจากพิษณุโลกเพื่อร่วมการเคลื่อนไหวสังคมแนวใหม่(New Social Movement) ตามคำเชิญชวนของ อ.ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ ซึ่งสู้อุตส่าห์ไปเยี่ยมเราถึงชมรมศึกษาเพื่อการพัฒนาสี่แยกอินโดจีนเมื่อเดือนก่อน


ประชาธิปไตยสามัญประจำชุมชน

            ประชาธิปไตยสามัญประจำชุมชน ผู้เขียนอาจจงใจตั้งชื่อให้คล้ายกับยาสามัญประจำบ้าน ที่ยามป่วยไข้ ร่างกายเกิดอาการเจ็บป่วย ก็อาศัยยาสามัญประจำบ้านมารักษา บรรเทาเบาบางอาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น


ประสบการณ์ประชาสังคม (3) : “องค์กรยืดหยุ่น 2542”

       วันที่รับมอบภารกิจจากอาจารย์หมอประเวศ   วะสี ประธานมูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนานั้น ผมแทบไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับโครงสร้างองค์กรและบุคลากรของ LDI ต่อเมื่อได้สำรวจทุนภายในเป็นเบื้องต้นจึงรู้ว่าการบริหารงานคงไม่ง่ายอย่างที่คิด


ประสบการณ์ประชาสังคม (1): “จิตใหญ่ คิดใหญ่ ไม่ทำเอง”

            เมื่อเดือนตุลาคม 2541 สิบปีล่วงมาแล้ว เมื่อผมเริ่มเข้ามารับผิดชอบสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนาในฐานะเลขาธิการสถาบันฯ และเป็นกรรมการเลขานุการมูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนาไปพร้อมกัน พี่หมอสงวน นิตยารัมภ์พงศ์



“แนวทางแก้ปัญหาชายแดนภาคใต้”

            “ทุกปัญหามีวิธีแก้ไข  ขอแต่เราใช้สติปัญญาและความร่วมแรงร่วมใจกัน”  ปัญหาไฟใต้ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ถ้าใครก็ตามที่อยู่ในอำนาจหน้าที่สามารถยอมรับความจริงได้ว่ามีข้อจำกัดและความผิดพลาด ทั้งในระดับยุทธวิธี ระดับยุทธศาสตร์ ระดับทิศทางนโยบาย และระดับภูมิปัญญาแห่งชาติ


“แนวทางแก้ปัญหาชายแดนภาคใต้”

            “ทุกปัญหามีวิธีแก้ไข ขอแต่เราใช้สติปัญญาและความร่วมแรงร่วมใจกัน” ปัญหาไฟใต้ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ถ้าใครก็ตามที่อยู่ในอำนาจหน้าที่สามารถยอมรับความจริงได้ว่ามีข้อจำกัดและความผิดพลาด ทั้งในระดับยุทธวิธี ระดับยุทธศาสตร์ ระดับทิศทางนโยบาย และระดับภูมิปัญญาแห่งชาติ โดยเปิดใจกว้างและเชิญชวนให้ผู้คนมาช่วยกันคิดหาหนทางแก้ไขก็น่าจะพบทางออกได้ไม่ยาก ในทางตรงกันข้ามถ้ากลัวเสียหน้า หวงบทบาท ไม่ยอมคิดออกนอกกรอบหรือหวาดระแวงกัน ก็คงต้องทำใจเพราะประเทศชาติไม่ใช่ของ


“จัดระเบียบวิทยุชุมชน ควรมองทั้งกระดาน”

            ผลจากรัฐธรรมนูญ 2540 และพ.ร.บ.จัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการฯ พ.ศ.2543 ได้ทำให้มีปรากฏการณ์ทยอยกันเกิดอย่างเป็นธรรมชาติของสถานีวิทยุชุมชนในเชิงอุดมคติ


“ป.ป.ช.ภาคประชาชน”

          ภาวะหนี้สินบานเบอะของการบินไทยที่ปูดออกมาในระยะนี้ สังคมโดยทั่วไปตกอยู่ในสภาพช็อกเพราะนึกไม่ถึงว่าสายการบินแห่งชาติที่เราภาคภูมิใจนั้นสุขภาพทรุดโทรมขนาดนี้เชียวหรือ และคนส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะเชื่อว่าปัจจัยสำคัญเกิดจากคอร์รัปชันที่เป็นมะเร็งร้ายเกาะกินมาจากภายใน


“ลดหย่อนภาษีบุคคลที่ดูแลคนพิการ”

          ในเวลานี้คงเห็นกันได้ชัดเจนแล้วว่า รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะก็สามารถทำนโยบายลงสู่รากหญ้าได้ไม่น้อยหน้าคุณทักษิณ ชินวัตร   โชคดีที่ถูกบริภาษไม่มากนักเพราะมีประเด็นความจำเป็นที่ต้องรีบรดน้ำดับไฟเศรษฐกิจมาเป็นข้ออ้างและมีคนอื่นๆ ทำให้เห็นเป็นตัวอย่างมาก่อนแล้ว


วิจัยชีวิตสาธารณะ สร้างพลังพลเมืองท้องถิ่น

การสร้างสรรค์สังคมที่มีสุขภาวะ สร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่น เป็นเรื่องของสาธารณะ คือเรื่องของประชาชนทั้งหมดในท้องถิ่น ไม่ใช่รอให้รัฐมาชี้นำหรือให้ใครมาทำให้ เป็นเรื่องของคุณภาพของคน ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ด้วย “กระบวนการร่วมกันเรียนรู้ของประชาชนคนในท้องถิ่น และเกิดการเปลี่ยนแปลงตัวเองของประชาชนเหล่านั้น (personal transformation) เป็นสำคัญ”


แนวคิดชุมชนท้องถิ่นพัฒนาและการก่อเกิด LDI : กฤษฎา บุญชัย

1.บทนำ สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (สทพ.) ถือกำเนิดขึ้นมาในท่ามกลางพัฒนาการการต่อสู้ทางแนวคิดด้านการพัฒนาที่ครอบคลุมทั้งเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมืองที่หลากหลายและเข้มข้นทั้งในระดับท้องถิ่นไปจนถึงระดับชาติ โดยทั้งนี้ สทพ.ซึ่งเป็นหนึ่งในขบวนการเคลื่อนไหวของประชาชนที่ได้เริ่มต้นบุกเบิกแนวคิดเกี่ยวกับ “ชุมชนท้องถิ่น” ในบริบทของการเมืองของการพัฒนา ทั้งการใช้วิพากษ์ทิศทางการพัฒนาของประเทศ และการเสนอทางเลือกนโยบายการพัฒนาของท้องถิ่น