เครือข่ายภัยพิบัติ

ต้นแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนท้องถิ่น 4 กรณี : การศึกษาดูงานสิ่งแวดล้อมที่ประเทศญี่ปุ่น

โดย  พลเดช  ปิ่นประทีป กรรมการสถาบันลูกโลกสีเขียว วันที่ 4-10 พฤศจิกายน 2561


เวทีประเมินความเสี่ยงภัยพิบัติ และสำรวจพื้นที่เสี่ยงภัย ในระดับหมู่บ้าน และตำบล ครอบคลุมพื้นที่ 10 ตำบล 46 หมู่บ้าน ในพื้นที่อำเภอท่าวังผา

ในช่วงระหว่างวันที่ 22-25  มกราคม 2562 และ 3-8 กุมภาพันธ์ 2562  ทางโครงการสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นเตรียมความพร้อมและลดความเสี่ยงภัยพิบัติ  สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (LDI)  จัดเวทีประเมินความเสี่ยงภัยพิบัติ และสำรวจพื้นที่เสี่ยงภัย ในระดับหมู่บ้าน และตำบล ครอบคลุมพื้นที่ 10 ตำบล  46 หมู่บ้าน ในพื้นที่อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น การเข้าใจความเสี่ยงของพื้นที่ และระบบของพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงของพื้นที่


การประชุมเชิงปฏิบัติการ “กรอบเเนวทางศึกษาประเมินความต้องการหลังเกิดภัยพิบัติ” พายุโซนร้อนปาบึก PABUK

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “กรอบแนวทางการศึกษาประเมินความต้องการหลังเกิดภัยพิบัติ” (Post Disaster Needs Assessment: PDNA) พายุโซนร้อนปาบึก PABUK วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 08.30-16.00 น. ณ ห้อง E201 ชั้น 2 คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา


เอกสารประกอบการเสวนา “วิถีชุมชนบนพื้นที่ชุ่มน้ำ: ความเปลี่ยนแปลง ผลกระทบและการปรับตัว”

วันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 9.00-15.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 2 ภูพานเพลส มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร


เสวนา “วิถีชุมชนบนพื้นที่ชุ่มน้ำ: ความเปลี่ยนแปลง ผลกระทบและการปรับตัว”

เชิญผู้ที่สนใจ เสวนา “วิถีชุมชนบนพื้นที่ชุ่มน้ำ: ความเปลี่ยนแปลง ผลกระทบและการปรับตัว” วันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 9.00-15.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 2 ภูพานเพลส มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร


การจัดการภัยพิบัติธรรมชาติโดยชุมชนท้องถิ่นเป็นศูนย์กลาง (VDO)

สมัชชาสุขภาพ ครั้งที่ 10 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ มติ 4.3 การจัดการภัยพิบัติธรรมชาติโดยชุมชนท้องถิ่นเป็นศูนย์กลาง ห้องประชุม 4 วันที่ 21 ธันวาคม 2560


มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ” ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562

มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ” ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562 ระหว่างวันที่ 7-9 มกราคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ  จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช)


ปฏิบัติการลุกปลุกเปลี่ยน ซีซั่น 2 EP.4 : ปฏิบัติการอยู่ได้แม้ภัย(พิบัติ)มา

เป็นหนึ่งพื้นที่ต้นแบบในการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนที่อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน  จากความร่วมมือของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติน้ำท่วม 7 ตำบล ที่ได้มองเห็นปัญหาของตัวเองและต้องการแก้ไข จึงได้ประสานความร่วมมือกับอีก 8 อปท. ในการจัดการภัยพิบัติ เกิดเป็นแผนรับมือภัยพิบัติระดับตำบล 7 ตำบล เเละรวบรวมเป็นเเผนเครือข่ายระดับอำเภอ เกิดเป็นรูปแบบการจัดการภัยพิบัติ 3 ขั้น คือ ก่อนเกิดภัย ระหว่างเกิดภัย เเละหลังเกิดภัย ซึ่งเป็นการบูรณาการองค์ความรู้จากชุมชนเเละเครือข่าย ทำให้เกิดการจัดการที่มีระบบ  จากจุดเริ่มต้นในการก่อตัวของกระบวนการทำงานที่มีชุมชนเป็นศูนย์กลาง ทำให้ปัจจุบัน…


การพัฒนากระบวนการทำงานและการใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีส่วนร่วม จ.น่าน

จากเวที การพัฒนากระบวนการทำงานและการใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีส่วนร่วม ณ ห้องประชุมเทศบาลเวียงสา อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ตั้งแต่วันที่ 8 – 9 กันยายน 2560 โดยมี ดร.พลภัทร เหมวรรณ และคณะจากศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคเหนือ หรือ GISTDA North ร่วมกับสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (LDI)  โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติอย่างเป็นระบบ โดยเครือข่ายองค์ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่ประสบอุทกภัย มีรายละเอียดดังต่อไปนี้


แนวทาง เครื่องมือประเมินความเสี่ยงภัยระดับชุมชน-ท้องถิ่น

การจัดทำข้อมูลพื้นที่ประสบภัยเพื่อประเมินสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงผลกระทบที่เกิดในกลุ่มเปราะบางผ่านการศึกษาสภาพพื้นที่  สถานการณ์ภัย การรับมือจัดการภัยของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พัฒนากลไกความร่วมมือที่เกื้อกูล  ทั้งในภาวะวิกฤติกระทั่งการฟื้นฟู โครงการถอดบทเรียนการประเมินสถานภาพความเสียหายจากอุทกภัยภาคใต้ ปี 2560  



สรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการ “เชื่อมร้อยการดำเนินงานลดความเสี่ยงภัยพิบัติแม่สอด”

วันที่ 22-23 พฤษภาคม 2561 ณ ห้องประชุมม่วงเทพรัตน์ โรงเรียนเทศบาลเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตำบลแม่ปะ อำเภอแม่ปะ จังหวัดตาก จัดโดย โครงการสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นเตรียมความพร้อมรับมือและลดความเสี่ยงภัยพิบัติ