การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนท้องถิ่น อ.แม่สอด จ.ตาก
อีกหนึ่งกรณีศึกษาที่ทางสถาบันชุมชนท้องถิ่นร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายภาพส่วน โดยเฉพาะชุมชนแม่สอดทั้ง 20 ชุมชน ที่ลุกขึ้นมาจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนท้องถิ่นเอง
อีกหนึ่งกรณีศึกษาที่ทางสถาบันชุมชนท้องถิ่นร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายภาพส่วน โดยเฉพาะชุมชนแม่สอดทั้ง 20 ชุมชน ที่ลุกขึ้นมาจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนท้องถิ่นเอง
วันที่ 28 – 30 กันยายน 2560 สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา จัดกิจกรรมเพื่อประเมินสภาพการณ์ความเสี่ยงจากภัยพิบัติน้ำท่วม
การประชุมวิชาการ ” น้ำท่วมใต้ : ภัยพิบัติในความเสี่ยงใหม่ “ วันอังคารที่ 1 สิงหาคม 2560 ณ ห้องประชุมจั๊คส์ อัมโยต์ ชั้น 4 อาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เวลา 11.00-15.30 น. 11.00-11.30 น. เปิดงาน…
ลุ่มน้ำท่าเชียด 1.ลำดับความสำคัญการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่
เมื่อความเป็นเมืองที่มีรากเหง้าทางวัฒนธรรม และแบบแผนแห่งวิถีชีวิต ต้องเผชิญกับนโยบายการพัฒนา แผนการผลักดันให้เป็นเมืองท่องเที่ยว การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ พิเศษชายแดน ฯลฯ ด้วยเหตุผลของการพัฒนา ความทันสมัย การแข่งขันทางการค้ากับตลาดระดับนานาชาติ อะไรจะเกิดขึ้นกับเมืองแม่สอด และชีวิตของผู้คนที่หลากหลาย ในเมืองเหล่านั้น ใคร… คือผู้มีสิทธิอย่างแท้จริง ในการกระทำที่มีผลต่อชีวิตท้องถิ่นเหล่านั้น ใคร… คือผู้ได้ประโยชน์จากนโยบาย แผนงาน โครงการต่างๆ ที่ถาโถมลงสู่ท้องถิ่น
ถึงแม้จะยังไม่เข้าใจดีนักในช่วงแรกๆ กับความหมายของคำว่า “ชีวิตสาธารณะ-ท้องถิ่นน่าอยู่” แต่คณะทำงานประชาคมแม่สอด จังหวัดตาก
วันเสาร์ที่ 15 มกราคม ที่ผ่านมา เวลา 17.00 – 20.00 น. ณ ลานแพร่งภูธร (หลังสถานีกาชาด) ถ.แพร่งภูธร แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพฯ
จังหวัดตากมีความได้เปรียบด้านที่ตั้ง สามารถสนองตอบต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนได้เป็นอย่างดี และการตั้งอยู่ปลายแนวเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก(East-West Economic Corridor)
วันที่ 19 ตุลาคม 2547 ที่ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก คณะรัฐมนตรีสัญจรนำโดยนายกทักษิณ ชินวัตร ได้อนุมัติให้ยกระดับ 3 อำเภอชายแดนของจังหวัดตากคือ อ.แม่สอด อ.พบพระ และ อ.แม่ระมาด เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ