CSDI Blog

แนวทางการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข | ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข (8)

โดย พลเดช  ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา เพื่อบูรณาการการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างอย่างเป็นระบบ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข (คปสธ.) ได้จัดทำแผนปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข ดังมีรายละเอียดตามที่รัฐบาลได้ประกาศไว้แล้วในราชกิจจานุเบกษา


กลไกนโยบายขาดเอกภาพและสมดุล | ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข (7)

โดย พลเดช  ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา กลไกนโยบายและการบริหาร ขาดสมดุลและเอกภาพ ประเด็นนี้น่าจะเป็นปัญหาที่ใหญ่ที่สุดของแผนปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข


อำนาจรวมศูนย์ หน่วยบริการจัดการตนเองไม่ได้ | ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข (6)

โดย พลเดช  ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา ปัญหาการรวมศูนย์อำนาจ ในกระแสทิศทางการบริหารกิจการรัฐของประเทศประชาธิปไตยที่พัฒนาทั่วโลก


งบประมาณสปสช.กับปัญหากำลังคนภาครัฐ | ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข (5)

โดย พลเดช  ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา มีประเด็นสำคัญที่จะหยิบขึ้นมาวิเคราะห์เพื่อการคิดแบบเชื่อมโยง โดยเอาการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุขเป็นเป้าหมาย ดังนี้


ความเหลื่อมล้ำระหว่างกองทุนหลักประกันสุขภาพ | ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข (4)

โดย พลเดช  ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา ทุกวันนี้ ด้วยพัฒนาการของระบบสาธารณสุขไทยในช่วง 4 ทศวรรษที่ผ่านมา บัดนี้ประชาชนคนไทยกว่าร้อยละ 99.9


สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข | ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข (3)

โดย พลเดช  ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา สถานการณ์ที่ 1. บุคลากรโรงพยาบาลรัฐแบกภาระหนักมาก คุณภาพบริการมีความเหลื่อมล้ำ


ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข (2) : ระบบสุขภาพกับความเป็นธรรม

โดย พลเดช  ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา ในระบบสุขภาพและระบบสังคมด้านต่างๆ ความเป็นธรรมมีความหมายที่ละเอียดอ่อนและลึกซึ้งมากไปกว่าความเท่าเทียมกันแบบหารเฉลี่ย (Equality)


ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข (1) : ความยากจน ความเหลื่อมล้ำ

โดย พลเดช  ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา เมื่อพูดถึงปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข มีบางประเด็นที่ต้องทบทวนให้เกิดความเข้าใจในทางวิชาการและข้อเท็จจริงให้ตรงกันเสียก่อน โดยเฉพาะในเรื่อง ความยากจน ความเหลื่อมล้ำ ความเป็นธรรม


ปฏิรูปสาธารณสุข ในยุคประยุทธ์ 2

โดย พลเดช  ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา เสียงเรียกร้องการปฏิรูปประเทศ ที่ดังก้องกังวานมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เหตุการณ์วิกฤติความขัดแย้งทางการเมือง ปี 2553 เรื่อยมาจนกระทั่งเริ่มซาลงเมื่อมีการยึดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2557


ครูสน จากนักปฏิวัติสู่นักปฏิรูป

ดร.วณี  ปิ่นประทีป ครูสน  รูปสูง หรือสหายวา เป็นมิตรร่วมรบ กับพวกเราเหล่านักศึกษาและปัญญาชนหลายคนที่เคยเข้าร่วมต่อสู่ด้วยอาวุธกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ.2519-2525 ในเขตอำเภอหนองบัวแดง จ.ชัยภูมิ


ครูสน รูปสูง ปราชญ์ชาวบ้านผู้ร่วมสร้างความเข้มแข็งให้ฐานของประเทศ

โดย ประเวศ  วะสี  ผมพบครูสน รูปสูง ที่บ้านท่านางแนว อำเภอแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น เมื่อคณะเล็กๆ ของเราไปค้างกับชาวบ้านที่นั่น เมื่อกว่า 30 ปีมาแล้ว การศึกษาเรียนรู้จากชาวบ้านเราต้องไปค้างคืนกับเขา เพราะเวลากลางวันเขาต้องทำมาหากิน ไม่มีเวลามาพูดคุยกับเรา เวลาราชการกับเวลาราษฏรไม่ตรงกัน


สนุกกับชีวิต มิตรสหาย 196 โดย หมอทวี ตอนที่ 12 “หมอเทวดา” : ที่มาของสมญานามที่ชาวบ้านหนองบัวแดงจดจำ

พ.ศ. 2521 ณ บ้านบ่อทอง ตำบลถ้ำวัวแดง อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ ค่ำวันหนึ่งในฤดูแล้ง ขณะที่หน่วยจรยุทธ์งานมวลชนของเขตงาน 196 เคลื่อนจากภูพังเหย มาหยุดอยู่ที่ชายดงตีนภูพญาพ่อ บริเวณเขาปากช่องลำน้ำเจียง