เบื้องหลังการถ่ายทำลพบุรี
เบื้องหลังสารคดีที่ลพบุรีถ่ายทำไปเมื่อวันที่ 3 – 5 ก.ค.ที่ผ่านมา มีแนวคิดสำคัญเพื่อนำเสนอวิธีคิด วิธีทำงาน ประสบการณ์ และการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อทำให้ท้องถิ่นน่าอยู่ โดยจะนำเสนอผ่านประเด็นสำคัญ 3 ประการ…
เบื้องหลังสารคดีที่ลพบุรีถ่ายทำไปเมื่อวันที่ 3 – 5 ก.ค.ที่ผ่านมา มีแนวคิดสำคัญเพื่อนำเสนอวิธีคิด วิธีทำงาน ประสบการณ์ และการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อทำให้ท้องถิ่นน่าอยู่ โดยจะนำเสนอผ่านประเด็นสำคัญ 3 ประการ…
“ลุงโต” ลุงโตกล่าวว่า “ก่อนหน้านี้มีการจัดเวที ชาวบ้านเป็นผู้เสนอ และหาแนวทางแก้ปัญหา และได้ข้อตกลงร่วมกันว่า อยากให้มีการฟื้นฟูประเพณีแห่ช้างเผือกขึ้น…
ในอดีตถ้ามีโอกาสพ่อจะเข้าร่วมพิธีแห่ช้างเผือกด้วยทุกครั้ง ดีใจที่ประเพณีนี้เกิดขึ้นมาอีกครั้งในปีนี้ ประเพณีแห่ช้างเผือกเป็นภูมิปัญญาของคนในอดีต ที่ต้องการให้คนที่อยู่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำได้รู้จักกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์และปัญหาเรื่องน้ำ…
แนวคิดสำคัญของเชียงรายคือ สร้างสุขภาวะ กาย จิตใจ สังคม เชื่อมโยงวิถีชีวิตเข้ากับวิถีวัฒนธรรม ใช้วัฒนธรรมด้านอาหาร การแสดง หัตถกรรม ปลุกจิตสำนึกสาธารณะ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความตระหนักในคุณค่าแห่งวัฒนธรรม…
โครงการวิจัยและพัฒนาชีวิตสาธารณะ-ท้องถิ่นน่าอยู่ สถาบันชุมชนท้องถอิ่นพัฒนากับ บริษัท เนชั่นบรอดแคสติ้ง คอร์เปอเรชั่น (Nation Channel)
เมื่อวันที่ 6 – 9 พฤษภาคม 2548 ทีมสนับสนุนส่วนกลาง ร่วมกับทีมงานในโครงการวิจัยและพัฒนาชีวิตสาธารณะ – ท้องถิ่นน่าอยู่จังหวัดแม่ฮ่องสอนซึ่งเป็นเจ้าภาพในการ จัดเวทีประชาสังคมภาคเหนือ ครั้งที่ 3 โดยมุ่งเป้าไปที่ประเด็นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ..
เมื่อวันที่ 29เม.ย.-1พ.ค.2548 ทีมสนับสนุนส่วนกลาง โครงการวิจัยและพัฒนาชีวิตสาธารณะ – ท้องถิ่นน่าอยู่ จัดเวทีภูมิภาค ภาคกลาง เรื่องการสร้างกระบวนการเรียนรู้ผ่านงานสมัชชาสุขภาพ ณ บ้านผู้หว่าน อ.สามพราน จ.นครปฐม …
รศ.ดร.เนาวรัตน์ พลายน้อย กล่าวถึงทิศทางการดำเนินงานว่า “ในปีหน้าซึ่งเป็นปีสุดท้ายของโครงการฯ เราต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า เรามีองค์ความรู้ของโครงการฯ …
…“หากขาดตัวชี้วัด เราจะเสียพลังงานในการทำงานมาก โดยเสียเวลาในการวิเคราะห์ความจริงมาก นานกว่าจะสร้างสรรค์อย่างอื่นได้ ทางการแพทย์หากไม่มีข้อมูลที่ถูกต้องก็คงรักษายาก”…
เมื่อวันที่ 2-3 เมษายน 2548 ฝ่ายติดตามประเมินผลภายใน ส่วนกลาง จัดเวที “การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและการประยุกต์ใช้ตัวชี้วัด”
เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่ผ่านมา ผมมีโอกาสลงพื้นที่ศึกษาพื้นที่ ปราจีนที่มีปัญหาหลายด้าน ต้องทนกับน้ำหลายชนิด น้ำเน่าเสีย น้ำท่วม น้ำแล้ง น้ำเค็ม ชาวนาที่ทำนาปรังมีปัญหามาก มีการแย่งน้ำทำนาเป็นแสนไร่ เพราะราคาดี …
เมื่อวันที่ 28 – 30 มีนาคม 2548 ทีมสนับสนุนส่วนกลาง ร่วมกับทีมงานในโครงการวิจัยและพัฒนาชีวิตสาธารณะ – ท้องถิ่นน่าอยู่ภาคเหนือ จัดเวทีประชาสังคมภาคเหนือ ครั้งที่ 2…เพื่อให้พื้นที่ภาคเหนือได้พูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้