ข่าวประชาสังคม

ธรรมนูญชุมชนคนคลองเปรม|คุยกับเลขาธิการ (35)

เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2562 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธณะ ผู้ได้รับมอบหมายให้ดูแลการฟื้นฟูคลองเปรมประชากร ได้เชิญผมไปร่วมหารือพร้อมกับคณะทำงานจากหน่วยงานหลายกระทรวงในเรื่องนี้เป็นการเฉพาะ


“สมัชชาสุขภาพแห่งชาติที่มีพลัง” | คุยกับเลขาธิการ (34)

การจัดงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ(NHA)ในแต่ละปี อยู่ในความรับผิดชอบของ “คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ”(คจ.สช.)


ภาคีการพัฒนาจังหวัดจันทบุรี

ในคราวที่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เป็นเลขาธิการสภาพัฒน์  เมื่อได้สรุปผลงานการพัฒนาประเทศภายใต้แผนชาติ ฉบับที่ 1-7 รวม 35 ปี ว่า “เศรษฐกิจดี  สังคมมีปัญหา  การพัฒนาไม่ยั่งยืน”  ท่านจึงได้ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิทางสังคมระดับอาวุโสกลุ่มหนึ่ง จัดให้มีกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาประเทศแบบมีส่วนร่วมเป็นครั้งแรก โดยใช้เทคนิคกระบวนการที่เรียกว่า AIC เข้ามาช่วย จนมาเป็นแผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 8  พ.ศ. 2540-2544


[VDO] นโยบานด้านสุขภาพของพรรคการเมืองไทย โดย นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป

นโยบานด้านสุขภาพของพรรคการเมืองไทย โดย นายแพทย์ พลเดช ปิ่นประทีป เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ มุมมองที่มีต่อนโยบายด้านสุขภาพของแต่ละพรรคการเมืองเป็นอย่างไรบ้าง การกระจายอำนาจ และอุปสรรคที่มีต่อนโยบายด้านสุขภาพที่รัฐบาลในอนาคตจะต้องรับมือ การที่แต่ละพรรคการเมืองชูนโนบายการนำเทคโนโลยีด้านสุขภาพมาใช้ เป็นไปได้แค่ไหน


“มติสมัชชากับสัญญาใจ” | คุยกับเลขาธิการ (33)

สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ (NHA) เป็นเครื่องมือ “ตัวแม่” ของกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม (4PW) ตามพ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550



“เหลียวหลังแลหน้า สมัชชาสุขภาพ” คุยกับเลขาธิการ (31)

แม้ผมจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการผลักดัน พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติมาตั้งแต่ต้น จนกระทั่งเมื่อมีสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)



“โมโรสึกะ เมืองมรดกโลกด้านเกษตรกรรม” คุยกับเลขาธิการ (30)

ผมได้รับเชิญจาก ปตท.โดยสถาบันลูกโลกสีเขียว ให้ร่วมทีมทัศนศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมที่ประเทศญี่ปุ่น ในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา


“ทศวรรษสอง สมัชชาสุขภาพ” คุยกับเลขาธิการ (29)

ผมสังเกตพบว่า คนทั่วไปมักจะรู้จักและจดจำภาพลักษณ์ของ “สมัชชาสุขภาพ” ว่าหมายถึงอะไร ได้ง่ายกว่าการแยกแยะบทบาทความแตกต่างระหว่าง สช. กับกระทรวงสาธารณสุขและองค์กรอิสระตระกูล ส.ทั้งหลาย


นโยบายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กับวิถีแห่งการจัดการร่วมกัน

แต่เดิม นโยบาย”การทวงคืนผืนป่า”ตามแนวคิดแนวทางของข้าราชการประจำ มุ่งจัดระเบียบและแก้ปัญหาการบุกรุกป่าโดยใช้อำนาจแบบแข็ง ไล่ยึดและทุบทำลายอาคารสิ่งปลูกสร้างของนายทุนที่บุกรุกที่ป่า จนเกิดเป็นข่าวครึกโครม  เมื่อเจอกับชาวบ้านที่ยากจนและมีความเดือดร้อนจริง ซึ่งมักไร้สิทธิ์ไร้เสียง ไร้อำนาจต่อรอง และไม่มีทางอื่นไป  รัฐบาลชุดใดก็ยังแก้ปัญหาให้กับพวกเขาไม่ได้


การสร้างพลเมืองในศตวรรษที่ 21

สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา ได้ศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการสร้างเป้าหมายร่วมแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศไปสู่ความมั่นคง กรณีศึกษา ๕ ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน  สาธารณรัฐสิงคโปร์  สาธารณรัฐเกาหลีใต้ สหพันธรัฐเยอรมนี  และสหราชอาณาจักร พบว่า เรื่องที่ทุกประเทศให้ความสำคัญ คือ การสร้างคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ และมีคุณธรรม โดยทุกประเทศต่างมีการปลูกฝังคุณธรรมความเป็นพลเมือง มีการพัฒนาระบบการศึกษาให้มีคุณภาพ และมีนโยบายในการสนับสนุนหรือเอื้อต่อความเป็นพลเมือง