หนังสือแนะนำ

สังคมดีไม่มีขาย อยากได้ต้องร่วมสร้าง : ประเวศ วะสี

เรียบเรียง : ศรียุทธ สังคมไทยของเราจะไปสู่ทิศทางใด จะดี ร้าย นั่นเป็นคำถามที่พวกเราต้องตอบให้ความชัดเจน เพราะปัญหาโครงสร้างสังคมไทยที่ติดขัดต่อเนื่องมายาวนาน ถ้าเรามีผู้นำบ้านเมืองที่มาพร้อมกับ ความรู้ ความสามารถ มีเจตนาดี มีเป้าหมายการทำงานเพื่อประโยชน์บ้านเมือง เพื่อผลประโยชน์ความสุขของประชาชน เราคงไม่หนักใจ


หนังสือ 2 เล่ม กว่าจะเป็นศูนย์การเรียนรู้และบทเรียนการขับเคลื่อนเมืองน่าอยู่และชุมชนน่าอยู่

หนังสือ 2 เล่ม โดย ประภาพรรณ อุ่นอบ กับ ณภัทร ประภาสุชาติ ถอดกระบวนการขับเคลื่อนเมืองน่าอยู่บนฐานคิดสำคัญที่ยึดหลักการการมีส่วนร่วมจากเครือข่ายภาคประชาสังคม ในแง่การทำงานสร้างชุมชนน่าอยู่ของเทศบาล 9 แห่ง


ฮิลาลอับ-ยัฏ

พลังอาสาสมัครที่ผลิบาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้หนังสือเล่มสีเหลือง เล่าเรื่องราวเกี่ยวข้องกับมูลนิธิฮิลาลอับ-ยัฎ องค์กรสาธารณะประโยชน์ที่เข้าไปมีส่วนร่วมในการสร้างสำนึกจิตสาธารณะของผู้คนในสังคม ให้เป็นสังคมที่มีความเสียสละ บนรากฐานความคิดของมุสลิม


หนังสือ บทเรียนการขับเคลื่อนเมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ บทสังเคราะห์ : กลไกการพัฒนาเมือง

  คุณสสัน ศุภวัฒนวรคุณและยุทธดนัย สีดาหล้า เขียนถึงบทสังเคราะห์ กลไกการพัฒนาเมือง ผ่านพื้นที่ทำงาน 9 เมือง คือ นครหาดใหญ่ นครอุบลราชธานี เมืองสุรินทร์ เมืองบุรีรัมย์ เมืองน้ำจืด เมืองปราณบุรี เมืองคลองแห เมืองไร่เก่าและเมืองขุนยวม ผ่านดัชนีชี้วัดความน่าอยู่ของเมืองใน 5 มิติ


รายงานสถานการณ์เมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ 2548-2550

หนังสือสองเล่ม“รายงานสถานการณ์เมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ 2548-2550” รวบรวมดัชนีชี้วัดที่เทศบาลหรือหน่วยงานส่วนท้องถิ่นสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีรูปธรรม พร้อมกรณีศึกษาจากหน่วยงานต่างๆ ขององค์กรชุมชน ส่วนปกครองท้องถิ่น ที่น่าสนใจ คือ รูปธรรมของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมที่ปฎิบัติได้จริง สมดังคำของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ว่า


20 ปี มูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนา

20 ปีบนเส้นทางสายพัฒนาประชาสังคม ในรูปแบบหนังสือเล่มเขื่องของคนทำงานหลายคนที่ตั้งใจจัดทำ “หนังสือ 20 ปี มูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนา” ชุมชนเข้มแข็งและประชาสังคม


การถอดบทเรียนการประยุกต์(After Action Review)ในการติดตามประเมินผลภายใน โครงการวิจัยละพัฒนาชีวิตฯ

AAR มีขั้นตอนหลักที่สำคัญอยู่ 4 ขั้นตอน ขั้นวางแผน เตรียมการ ขั้นปฏิบัติการ และขั้นติดตามประเมินผล แต่อย่างไรก็ตามขั้นตอนในการทำAAR อาจยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม


กรอบแนวคิดการประเมินศักยภาพเครือข่ายสังคม

การประเมินศักยภาพของเครือข่ายสังคม อาจพิจารณาได้ในแง่ของปริมาณจำนวนหรือขนาดของเครือข่าย หรือกลุ่มที่เข้าร่วมในด้านคุณภาพ พิจารณาจากความหลากหลายของกลุ่มหรือองค์กรที่เข้าร่วม นอกจากนี้ยังอนุมานจาก “ระบบ” ของการจัดการเครือข่ายองค์กร




วิทยากรกระบวนการ เงื่อนไขสำคัญของการถอดบทเรียนแบบการวิเคราะห์หลังการปฏิบัติการ

      วิทยากรกระบวนการควรมีความเชื่อมั่นในศักยภาพของผู้ด้อยโอกาส เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และเชื่อมั่นว่าความรู้ที่มีอยู่ในตัวทุกคนซึ่งเป็นความรู้ที่มาจากประสบการณ์


ชีวิตสาธารณะเข้มแข็ง ท้องถิ่นน่าอยู่

หนังสือเล่มนี้เป็นการบอกเล่าเส้นทางความพยายามสร้างสรรค์ชีวิตสาธารณะในท้องถิ่นของพลเมืองใน 35 จังหวัด ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่หลากหลาย มีทั้งส่วนที่เหมือนและแตกต่างกันของวิธีทำงาน…