ที่นี่ CSDI

German PBS Series (2) “สื่อมวลชนในสหพันธรัฐเยอรมัน”

          นอกจากการออกแบบระบบการเมืองการปกครองให้เป็นสหพันธรัฐซึ่งถือเป็นรูปแบบที่มีความเป็นประชาธิปไตยในเชิงโครงสร้างที่สมบูรณ์ที่สุดแล้ว รัฐธรรมนูญแห่งสหพันธรัฐเยอรมันยังได้ประกาศเจตนารมณ์ในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในด้านการพูด การเผยแพร่ความคิดเห็น และการตีพิมพ์โฆษณาเอาไว้อย่างหนักแน่น


German PBS Series (1) “สหพันธรัฐ : ระบบประชาธิปไตยในโครงสร้าง”

            ผมมีโอกาสไปศึกษาดูงานในประเทศเยอรมันนี 2 ครั้งห่างกัน 10 ปี แต่ละครั้งกลับมาพร้อมกับความรู้และความประทับใจ ด้านหนึ่งเป็นความสนใจส่วนตัวจึงตั้งใจเรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย ด้านหนึ่งประเทศเขามีตัวอย่างรูปธรรมให้ศึกษาอย่างอุดมสมบูรณ์


“ว่าด้วยแนวคิดมูลนิธิชุมชน”

          ผมทิ้งท้ายไว้ในบทความที่แล้วว่าการฟื้นฟูชุมชนและสิ่งแวดล้อมที่มาบตาพุดอาจต้องใช้กลไก “มูลนิธิชุมชน” หรือ “กองทุนเพื่อท้องถิ่น” เข้ามาเสริม เพราะลำพังงานซีเอสอาร์ของบริษัทหรือโรงงานต่าง ๆ ประสบปัญหาความหวาดระแวง ชุมชนสูญเสียความศรัทธาไปมา


“หยุดความรุนแรงที่มาบตาพุดเถอะครับ”

เฝ้ารอมาค่อนปีแล้ว ภายหลังศาลปกครองระยองได้มีคำพิพากษาสั่งให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ประกาศให้มาบตาพุดเป็นเขตควบคุมมลพิษภายใน 60 วัน นับแต่มีคำพิพากษา (3 มีนาคม 2552)


“ส.ส.ส.กับความคาดหวังของสังคม”

            ก่อนอื่นผมขอถือโอกาสแสดงความยินดีและเป็นกำลังใจในการปฏิบัติงานของคุณหมอ กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ ว่าที่ผู้จัดการกองทุนส.ส.ส.คนใหม่ 


“บุคลากรในเครือข่าย”

            พูดถึงการจัดตั้ง (Organizing) ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งตนเอง หรือถูกคนอื่นเข้ามาจัดตั้ง หัวใจสำคัญอยู่ที่ทำให้มีการจัดการ (Management) ซึ่งการจัดการที่สำคัญคือการจัดการในเรื่องบทบาทและความสัมพันธ์ (Role/Relationship) ของบุคคลต่างๆ ที่เป็นสมาชิกนั่นเอง


“พลังสาธารณะ”

             ในงานสัมมนาเครือข่ายคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพระดับจังหวัด ซึ่งกระทรวงยุติธรรมจัดขึ้นเมื่อสัปดาห์ก่อน   เขาตั้งประเด็นว่า “พลังชุมชนพิชิตวิกฤตความขัดแย้ง”   ทำให้ผมเกิดความชื่นชมและความเป็นห่วงขึ้นมาพร้อมกัน


“เมื่อราชการจับมือประชาสังคม”

            ข่าวสารบ้านเมืองที่เรารับรู้รับทราบผ่านสื่อมวลชนวันละหลายชั่วโมงในช่วงนี้ทำเอาพรรคพวกของผมมีอาการประสาทกินไปตามๆกัน ด้านหนึ่งมีแต่ความวุ่นวายทางการเมืองและการแย่งชิงอำนาจส่วนบน ทั้งการต่อสู้ในสภาและนอกสภา


“เรื่องดีชายแดนใต้”

            ขณะที่ข่าวสารความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนใต้ยังมีอย่างต่อเนื่อง   6 เดือนของรัฐบาลอภิสิทธิ์ก็ยังไม่สามารถจุดประกายความหวังในการแก้ปัญหา 


“จิตอาสา”

          กระแสความตื่นตัวของผู้คนเรื่องจิตอาสาในสังคมไทยซึ่งเคยเฟื่องฟูในหมู่นักศึกษายุคหลัง 14 ตุลาคม 2516 ได้กลับมาอีกครั้งเมื่อเกิดเหตุการณ์พิบัติภัยสึนามิถล่มฝั่งอันดามันตอนปลายปี 2547


“ปัญหาเอกนิยม”

            ปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา    นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง “การเสริมสร้างสังคมสันติสุข” (สสสส.) รุ่นที่ 1 จำนวน 92 คน ของสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล    สถาบันพระปกเกล้า ได้จัดการสัมมนาเพื่อนำเสนอ (ร่าง)


“ปกครองตนเอง”

             ในขณะที่การเมืองระดับชาติยังต่อสู้ขับเคี่ยวกันอย่างหนักว่าระบบประชาธิปไตยของเราจะไปทางไหน ข่ายงานชุมชนเข้มแข็งและประชาสังคมที่พวกเราขับเคลื่อนกันอยู่ น่าจะช่วยกันขบคิดและผลักดันประชาธิปไตยชุมชน และประชาธิปไตยท้องถิ่นกันอย่างจริงจัง