มากไปกว่าการมีส่วนร่วม
เมื่อ 30 ปีก่อน ตอนที่นักพัฒนาเอกชน และนักวิชาการอิสระ กลุ่มเล็ก ๆ เริ่มบุกเบิกแนวคิด แนวทางการพัฒนาที่ใช้ชุมชนท้องถิ่นเป็นตัวตั้งนั้น
เมื่อ 30 ปีก่อน ตอนที่นักพัฒนาเอกชน และนักวิชาการอิสระ กลุ่มเล็ก ๆ เริ่มบุกเบิกแนวคิด แนวทางการพัฒนาที่ใช้ชุมชนท้องถิ่นเป็นตัวตั้งนั้น
โชคดีที่ได้ไปนั่งฟัง ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ นำเสนอทางวิชาการในที่ประชุมเครือข่ายสถาบันทางปัญญา ซึ่งเป็นเวทีขับเคลื่อนความคิดการปฏิรูปประเทศไทย เพื่อสุขภาวะคนไทย ที่มีอาจารย์หมอประเวศ วะสีเป็นประธาน และ สสส.เป็นกองเลขานุการ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายนที่ผ่านมา
เมื่อคืนวันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน 2552 ระหว่างไปร่วมงานแสดงคอนเสิร์ต “80 ปี จิตร ภูมิศักดิ์” ของวงซิมโฟนีออเครสต้าแห่งวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่หอประชุมใหญ่ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ผมได้พบเพื่อนผองน้องพี่สีเหลืองเข้มที่ติดตามทีวีไทยอย่างใกล้ชิดและมีเสียงสะท้อนที่น่าสนใจอย่างน้อย 3 ท่าน
ผมได้รับทราบความคิดเห็นติชมรายการของทีวีไทยอย่างสม่ำเสมอผ่านทางแฟ้มประมวลความคิดเห็นซึ่งเจ้าหน้าที่จัดทำไว้ให้และจากอินทราเนทของสำนักงาน
ผมมีโอกาสเข้าไปนั่งในฐานะกรรมการนโยบายชุดแรกขององค์การแพร่ภาพและกระจายเสียงสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท. หรือ TPBS) โดยเริ่มรับผิดชอบตั้งแต่วันที่ 2 สิงหาคม 2551 เป็นต้นมา พวกเราทั้ง 9 คน มีวาระการทำงาน 4 ปี แต่เมื่อผ่านไปครบ 2 ปีแรกจะต้องจับสลากออกไปครึ่งหนึ่งซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย
วันเวลาช่างผ่านไปรวดเร็วเหลือเกิน เกือบห้าเดือนแล้วที่รัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะเข้ามาบริหารประเทศ หากไม่นับเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองที่นายกรัฐมนตรีสามารถฝ่าข้ามมาแบบเส้นยาแดงผ่าแปด ท่ามกลางความสูญเสียความเชื่อถือจากต่างประเทศและซากปรักหักพังทางสังคมแล้ว รัฐบาลชุดนี้มีผลงานอะไรที่แตกต่างบ้าง?
สัปดาห์นี้เดินทางมากหน่อย และมีเรื่องร้อนที่รมว.ไพบูลย์ รับมาจากครม. ซึ่งต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัวเข้าช่วย 27 พย. เรื่องที่มีความยากเรื่องหนึ่งในฐานะ เลขานุการรมว.คือการพยายามจัดวาระการประชุมทีมรมว.อย่างพร้อมหน้าพร้อมตา อ.ไพบูลย์เรียกร้องมากแต่ตัวท่านเองก็เป็นอุปสรรคมากที่สุด เพราะหาเวลาที่แน่นอนยาก
เมื่อเดือนตุลาคม 2541 สิบปีล่วงมาแล้ว เมื่อผมเริ่มเข้ามารับผิดชอบสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนาในฐานะเลขาธิการสถาบันฯ และเป็นกรรมการเลขานุการมูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนาไปพร้อมกัน พี่หมอสงวน นิตยารัมภ์พงศ์
ความเสียหายของประเทศไทยและประชากรอาเซียนอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ “กบฎเสื้อแดง” 8-15 เมษายน 2552 นับเป็นเรื่องน่าใจหายอย่างยิ่ง แต่สิ่งที่สังคมไทยได้มาแบบไม่คาดฝันคือสภาวะการนำของนายกรัฐมนตรีที่สูงเด่นของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และการตื่นตัวของพลังเงียบทั่วประเทศผู้เฝ้าติดตามข้อมูลความจริงผ่านจอโทรทัศน์แบบเรียลไทม์
อย่างที่ได้กล่าวแล้วว่าประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมหรือการเมืองภาคพลเมืองในประเทศไทยมีการพัฒนาการ และการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง ดูเสมือนเป็นริ้วขบวนเป็น 3 ระดับ คือ การกำหนดตนเองในการพัฒนา (ชุมชนเข้มแข็ง) การร่วมกระบวนการนโยบายสาธารณะ (ประชาสังคม) และการตรวจสอบอำนาจรัฐ (การเมืองภาคประชาชน)
ดูเหมือนว่าการเมืองภาคพลเมืองจะมีบทบาทมากขึ้นในสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองและความแตกแยกทางสังคมที่เกี่ยวข้อง ทั้งปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต จึงน่าที่พวกเราข่ายงานชุมชนเข้มแข็ง และประชาสังคมทั่วประเทศจะได้สำรวจริ้วขบวนความเคลื่อนไหวดังกล่าว
ความวุ่นวายทางการเมืองวันนี้ สร้างความหวั่นวิตกให้กับประชาชนคนไทยในทุกวงการโดยถ้วนหน้า รวมทั้งพวกเราที่เป็นผู้ประสานงานเครือข่ายชุมชนเข้มแข็งและประชาสังคมทั่วประเทศ ด้านหนึ่งเป็นห่วงว่าจะเกิดความรุนแรงบานปลายจนถึงขั้นสงครามกลางเมือง ด้านหนึ่งกังวลว่าบ้านเมืองจะเปลี่ยนโฉมไปทางร้ายหรือดีในบั้นปลาย