ระบบการศึกษาทางเลือกกับสถาบันการเมืองวิถีใหม่
นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป (บรรยายหลักสูตรนักศึกษาปริญญาตรี รัฐศาสตร์การเมืองเชิงศีลธรรม / 15 มกราคม 2566)
นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป (บรรยายหลักสูตรนักศึกษาปริญญาตรี รัฐศาสตร์การเมืองเชิงศีลธรรม / 15 มกราคม 2566)
วุฒิสภามีภารกิจหลายด้าน ทั้งบทบาทวุฒิสภาตามบทบัญญัติหลัก บทบาทตามอำนาจหน้าที่ของสมาชิกตามรัฐธรรมนูญงาน ติดตาม เสนอแนะและเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ งานโครงการเชิงนวัตกรรม งานกรรมาธิการ และงานที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ
การศึกษาเพื่อแก้ปัญหาความยากจน คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา
เสาหลักสำคัญ เพื่อขจัดความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำประสบการณ์ จากประเทศเยอรมัน : การศึกษาและเรื่องการเมืองเป็นเรื่องเดียวกัน ริเริ่มในปี ค.ศ. 1950 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
รายชื่อโรงเรียนร่วมพัฒนา รุ่นที่ 1,2,3 จำนวน 195 แห่ง
คณะทำงานแก้ปัญหาความยากจน ชุดเล็กๆ ของเราได้มีโอกาสไปเยี่ยมโรงเรียนขนาดเล็ก 2 แห่ง ที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา ตามนโยบาย Sand Box ที่รัฐบาลมอบหมายให้คุณมีชัย วีระไวทยะ เป็นแม่งาน มาตั้งแต่ปี 2561
เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2564 คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา
ที่จังหวัดเชียงราย คณะกรรมาธิการมีโอกาสได้ไปเยี่ยมเครือข่ายโรงเรียนร่วมพัฒนา (Partnership School Project)
หนังสือ “จดหมายถึงเครือข่าย : รู้เท่าทัน จัดการตนเอง” เป็นเอกสารรวบรวมจดหมายเปิดผนึกของ ส.ว. พลเดช ปิ่นประทีป ที่เขียนไปถึงเพื่อนผองน้องพี่ในแวดวงงานพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและประชาสังคมในจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ ในช่วงสถานการณ์วิกฤติ
ก่อนเข้ามาทำหน้าที่เป็นสมาชิกวุฒิสภา ผู้เขียนมีความสนใจและมีส่วนเข้าร่วมผลักดันการปฏิรูปประเทศและยุทธศาสตร์ชาติมาอย่างต่อเนื่องในหลายสถานะ หลายบทบาทหน้าที่
ทิพย์พาพร ตันติสุนทร, 15 มิถุนายน 2559 *เคยนำเสนอต่อคณะกรรมาธิการการปัญหาความยากจนฯ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมคณะกรรมาธิการ (ส.ว.) หมายเลข 311 ชั้น 3 อาคารรัฐสภา
นพ.พลเดช ปิ่นประทีป ( **บันทึกการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของ ส.ว. พลเดช ปิ่นประทีป กับเครือข่ายภาคประชาสังคม กลุ่มผู้สนใจสมัครแข่งขันเลือกตั้งทั่วไป เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2564 )