กรอบภารกิจของรัฐบาลรักษาการคนกลาง
(รัฐบาลรักษาการ”คนกลาง” ตอนที่ ๒) กรอบภารกิจของรัฐบาลรักษาการคนกลาง ๑๒-๐๑-๒๐๑๔ พลเดช ปิ่นประทีป
(รัฐบาลรักษาการ”คนกลาง” ตอนที่ ๒) กรอบภารกิจของรัฐบาลรักษาการคนกลาง ๑๒-๐๑-๒๐๑๔ พลเดช ปิ่นประทีป
สภาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย : กรอบแนวคิดเบื้องต้นกับสถานการณ์จริง วานนี้ (23 ธันวาคม 2556) ณ ห้องคอนเวนชั่นฮอลล์ 2 ชั้น 2 อาคารศูนย์การเรียนรู้ไทยพีบีเอส กรุงเทพมหานคร เวลา 09.00 น. เวทีภาคีพัฒนาประเทศไทย (Thailand Development Forum) ครั้งที่ 3 เริ่มต้นขึ้นโดยครั้งนี้ได้ยกประเด็นร่วมสมัยในหัวข้อ…
ข้อเสนอนโยบายเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย พลเดช ปิ่นประทีป / 27 พฤศจิกายน 2556 (เขียนให้โพสต์ทูเดย์ฉบับ วันพุธที่ 4 ธันวาคม 2556)
INTEGRATED SAFEGUARDS DATASHEET APPRAISAL STAGE
ลูกโลกสีเขียว กับ ปตท. พลเดช ปิ่นประทีป (เขียนให้โพสต์ทูเดย์ พุธที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๖) เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ผมมีโอกาสได้ลงเยี่ยมพื้นที่ในโครงการรางวัลลูกโลกสีเขียว เพื่อดูผลงานชุมชนที่รักษาทรัพยากรดิน-น้ำ-ป่าในหลายบรรยากาศ
“จังหวัดจัดการตนเอง” คือสิ่งใดในญี่ปุ่น? พิเชษฐ เมาลานนท์ ทีมวิจัยปัญหาตุลาการศาสตร์ (๒๐๐๓) ก่อตั้ง ณ มหาวิทยาลัยนีกาตะ, ญี่ปุ่น ๑๙ กรกฎาคม ๒๐๑๓ ผมได้ฟังมาว่า ไทยกำลังกล่าวขวัญกันเรื่อง “จังหวัดจัดการตนเอง” ที่ญี่ปุ่น จึงสงสัยขึ้นมาว่า นั่นคือความคิดใดในญี่ปุ่น เมื่อลงมือวิจัย ก็ได้ข้อสรุปพื้นฐาน ๓ ข้อ…
เครือข่ายภัยพิบัติชุมชน จัดการประชุมปฏิบัติการเรียนรู้และพัฒนากระบวนการทำงานเครือข่ายจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่
กองทุนต้านโกง…ฝันที่เป็นจริงของภาคประชาชน? พลเดช ปิ่นประทีป/๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในระบบคู่ขนาน พลเดช ปิ่นประทีป/๑๘ มกราคม ๒๕๕๖ ไปดูงานที่อาเจะห์ ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อปลายปีที่แล้ว โชคดีมากที่ทีมของเราได้ไปแวะเยี่ยมสำนักงานของธนาคารโลกที่จาร์กาตาร์ก่อนที่จะลงพื้นที่
พลังชุมชนสู่สันติภาพชายแดนใต้ เวทีวิชาการ “พลังชุมชนสู่สันติภาพชายแดนใต้” 17-18 ธันวาคม 2555 ณ หอประชุมเล็ก มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา
เจนเนอเรชั่นที่สูญหายในชายแดนใต้ พลเดช ปิ่นประทีป *เขียนให้โพสต์ทูเดย์ พุธที่๒ เมษายน ๒๕๕๕ ช่วงสุดสัปดาห์ผ่านมา ผมมีโอกาสได้ลงไปสังเกตุการณ์เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนบทเรียนการทำงานแก้ปัญหายาเสพติดระหว่างชุมชนจากสี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งทาง กอ.รมน. และ ป.ป.ส. ดำเนินการอยู่
แผนแม่บท กสทช. ผมได้ทราบเรื่องความก้าวหน้าของแผนแม่บทการจัดสรรคลื่นความถี่ ที่เป็นภารกิจสำคัญเร่งด่วนที่ต้องรีบทำอย่างแรกๆของกสทช.จากข่าวทางสื่อมวลชน จับใจความได้เพียงว่าจะจัดสรรคลื่นวิทยุให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายภายในเวลา ๕ ปี ส่วนคลื่นโทรทัศน์ใน ๑๐ ปีและคลื่นโทรคมนาคมใน ๑๕ ปี