พลเดช ปิ่นประทีป

สาธารณรัฐเลบานอน : ถิ่นฐานรกรากชาวฟีนีเชียน ตอนที่ 3 สงครามบนแผ่นดินเลบานอน

บันทึกการเรียนรู้โดย พลเดช ปิ่นประทีป แม้ไม่นับการถูกรุกรานและเข้ามายึดครองโดยมหาอำนาจจักรวรรดินิยมในยุคสมัยต่างๆแล้ว แผ่นดินเลบานอนเองก็มีสงครามเกิดขึ้นภายในมาอย่างยาวนานจนถึงยุคสมัยอันใกล้


สาธารณรัฐเลบานอน : ถิ่นฐานรกรากชาวฟีนีเชียน ตอนที่ 2 อารยธรรมฟีนีเชียน

บันทึกการเรียนรู้โดย พลเดช ปิ่นประทีป ผืนแผ่นดินเลบานอน เป็นที่ตั้งถิ่นฐานหลักของชาวฟินีเชียนโบราณ (Phoenecian) อารยธรรมฟินีเชียนที่เคยยิ่งใหญ่มากในอดีตก็เกิดจากที่บริเวณนี้ นักประวัติศาสตร์โลกจึงถือว่าที่นี่ เลบานอน นับเป็น 1 ใน 15 แห่งที่มีสถานะเป็นอู่อารยธรรมของมนุษยชาติ (cradle of humanity)


สาธารณรัฐเลบานอน : ถิ่นฐานรกรากชาวฟีนีเชียน ตอนที่ 1 ประเทศสาธารณรัฐเลบานอน

บันทึกการเรียนรู้โดย พลเดช ปิ่นประทีป อารัมภบท ในช่วงส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ที่เพิ่งผ่านมา


ยกเครื่องระบบดูแลในภาวะฉุกเฉินของประเทศ

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) เป็นองค์การมหาชนที่จัดตั้งขึ้นตาม พรบ.การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ พ.ศ.2551 อายุองค์กร 10 ปี มีผลงานเชิงนวัตกรรมมากมาย ภาคีเครือข่ายปฏิบัติการหลากหลาย และมีพัฒนาการก้าวหน้ามาอย่างต่อเนื่อง


ภาคีการพัฒนาจังหวัดจันทบุรี

ในคราวที่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เป็นเลขาธิการสภาพัฒน์  เมื่อได้สรุปผลงานการพัฒนาประเทศภายใต้แผนชาติ ฉบับที่ 1-7 รวม 35 ปี ว่า “เศรษฐกิจดี  สังคมมีปัญหา  การพัฒนาไม่ยั่งยืน”  ท่านจึงได้ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิทางสังคมระดับอาวุโสกลุ่มหนึ่ง จัดให้มีกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาประเทศแบบมีส่วนร่วมเป็นครั้งแรก โดยใช้เทคนิคกระบวนการที่เรียกว่า AIC เข้ามาช่วย จนมาเป็นแผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 8  พ.ศ. 2540-2544


[VDO] นโยบานด้านสุขภาพของพรรคการเมืองไทย โดย นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป

นโยบานด้านสุขภาพของพรรคการเมืองไทย โดย นายแพทย์ พลเดช ปิ่นประทีป เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ มุมมองที่มีต่อนโยบายด้านสุขภาพของแต่ละพรรคการเมืองเป็นอย่างไรบ้าง การกระจายอำนาจ และอุปสรรคที่มีต่อนโยบายด้านสุขภาพที่รัฐบาลในอนาคตจะต้องรับมือ การที่แต่ละพรรคการเมืองชูนโนบายการนำเทคโนโลยีด้านสุขภาพมาใช้ เป็นไปได้แค่ไหน


ต้นแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนท้องถิ่น 4 กรณี : การศึกษาดูงานสิ่งแวดล้อมที่ประเทศญี่ปุ่น

โดย  พลเดช  ปิ่นประทีป กรรมการสถาบันลูกโลกสีเขียว วันที่ 4-10 พฤศจิกายน 2561



นโยบายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กับวิถีแห่งการจัดการร่วมกัน

แต่เดิม นโยบาย”การทวงคืนผืนป่า”ตามแนวคิดแนวทางของข้าราชการประจำ มุ่งจัดระเบียบและแก้ปัญหาการบุกรุกป่าโดยใช้อำนาจแบบแข็ง ไล่ยึดและทุบทำลายอาคารสิ่งปลูกสร้างของนายทุนที่บุกรุกที่ป่า จนเกิดเป็นข่าวครึกโครม  เมื่อเจอกับชาวบ้านที่ยากจนและมีความเดือดร้อนจริง ซึ่งมักไร้สิทธิ์ไร้เสียง ไร้อำนาจต่อรอง และไม่มีทางอื่นไป  รัฐบาลชุดใดก็ยังแก้ปัญหาให้กับพวกเขาไม่ได้


สุขภาวะที่ปลายทาง คุณภาพชีวิตในระยะสุดท้าย

งานสร้างสุขที่ปลายทาง เป็นกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิในเรื่อง “การตายดี” ซึ่ง สช. (สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ) ร่วมกับองค์กรภาคี ๑๑ แห่ง จัดขึ้นที่โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ เพิ่งจบไปด้วยบรรยากาศทางวิชาการเชิงนโยบายและการขับเคลื่อนสังคมอย่างมีส่วนร่วมที่น่าประทับใจ


คุยกับเลขาธิการ(28) “ประชาธิปไตย กับ การมีส่วนร่วม”

ภายหลังมีประกาศพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (พ.ร.ป.) ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2561 และ พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2561 ลงราชกิจจานุเบกษา


สนุกกับชีวิต มิตรสหาย 196 โดย หมอทวี ตอนที่ 10. “เกิบแตะ”

การดำรงชีวิตในป่าที่ต้องจรยุทธ์ไปเรื่อยๆ บ้าน เสบียงอาหารและเครื่องอัตถบริขารของเราล้วนบรรทุกอยู่บนหลัง นอกจากนั้นยังมีอาวุธประจำกายและเครื่องมือทางทหารที่ประดับอยู่ตามร่างกายอีกจำนวนหนึ่ง