รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 42) “ประชาคมจังหวัดเข้มแข็ง ท้องถิ่นพัฒนา”
ข้อเสนอแนะทั่วไปสำหรับภาคประชาสังคม
ข้อเสนอแนะทั่วไปสำหรับภาคประชาสังคม
“การมีส่วนร่วมของประชาชน” เป็นกระบวนการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความรู้สึกนึกคิด แสดงออกถึงสิ่งที่เขาต้องการ แสดงออกถึงปัญหาที่กำลังเผชิญ แนวทางการแก้ไขปัญหา และการลงมือปฏิบัติ
เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2563 ณ เวทีการประชุมสมัชชาระดับชาติของเครือข่ายองค์กรภาคประชาสังคม ที่โรงแรมแกรนด์ริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
การออกแบบสภาประชาสังคมไทย จากการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างองค์กรสภาและสมาคมที่เป็นต้นแบบกรณีศึกษาทั้ง 14 องค์กร เมื่อประกอบเข้ากับลักษณะธรรมชาติและคุณสมบัติเฉพาะขององค์กรภาคประชาสังคม (CSO) ในประเทศไทยในปัจจุบัน คณะวิจัยเสนอให้จัดตั้งกลไกพื้นที่กลางเพื่อการประสานงานและมีความเป็นตัวแทนของเครือข่าย ในนามของ “สภาประชาสังคมไทย”
ในกระแสการพัฒนาที่ยั่งยืน บทบาทขององค์กรภาคประชาสังคมและกระบวนการมีส่วนร่วมในเชิงคุณภาพเป็นที่คาดหวังจากองค์การสหประชาชาติและทุกประเทศทั่วโลก ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเป้าหมายที่ 17 (SDG17)
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(อีสาน) มี 20 จังหวัด ประกอบด้วย
สำรวจสถานการณ์ประชาธิปไตยชุมชนเป็นรายภูมิภาค โดยพิจารณาจากข้อมูลอัตราความหนาแน่นขององค์กรชุมชน/ 1 องค์กรปกครองท้องถิ่น ในพื้นที่ระดับจังหวัดและระดับภาค
โครงการ “คู่เสี่ยวเกี่ยวก้อย แก้จนคนขอนแก่น” เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนในจังหวัดขอนแก่นอย่างบูรณาการ
โมเดลบ้านดอนศาลเจ้า ชุมชนจัดการตนเองด้วยหลักพอเพียง พึ่งตนเอง และพึ่งพากันเอง
ตั้งอยู่ บ้านโคกล่าม หมู่ที่ 3 และบ้านแสงอร่าม หมู่ที่ 11 ตำบลกุดหมากไฟ อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบบูรณาการ สร้างการมีส่วนร่วม คืนความสมบูรณ์สู่ชุมชน
เมื่อปี 2559 ในขณะที่ข้อมูลของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระบุว่า แม่ฮ่องสอนเป็นจังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนมากที่สุดของประเทศไทย โดยมีสัดส่วนร้อยละ 39.21