รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 30) “แก้ความยากจนในชุมชน จาก 9 กรณีศึกษา”
กรณีศึกษาการแก้ปัญหาความยากจนของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของการหารูปแบบที่เหมาะสมเพื่อเปรียบเทียบกับกรณีศึกษาจากจีนและอินเดีย
กรณีศึกษาการแก้ปัญหาความยากจนของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของการหารูปแบบที่เหมาะสมเพื่อเปรียบเทียบกับกรณีศึกษาจากจีนและอินเดีย
อัตราความหนาแน่นของจำนวนองค์กรชุมชน (อชช.) ต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในแต่ละจังหวัด เป็นตัวชี้วัดที่บ่งบอกกระแสความตื่นตัวและความเคลื่อนไหวในการจัดการปัญหาด้วยตนเองของชุมชนในพื้นที่นั้นๆ ซึ่งอาจใช้เป็นเครื่องมือวัดระดับความแข็งแรงของประชาธิปไตยชุมขนหรือประชาธิปไตยทางตรงในระดับฐานล่างได้ในระดับหนึ่ง
คณะกรรมาธิการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชนวุฒิสภา มีมุมมองต่อบทบาทของประชาชนในระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดย ประกอบด้วย 3 ส่วน ที่ต้องให้ความสำคัญอย่างสมดุล ได้แก่
“จิงจุ่น” นโยบายแก้จนแบบตรงจุดของจีน รศ.ดร. Yu Haiqiu ผู้อำนวยการสถาบันไทยศึกษา สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์แห่งมณฑลยูนนาน
นวัตกรรมการแก้ปัญหาความยากจน หมายถึงวิสัยทัศน์ ความคิด นโยบาย ความรู้ วิธีการและกิจกรรมใหม่ๆ หรือกิจกรรมที่ประยุกต์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน ชุมชนท้องถิ่นและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่มีการนำมาใช้ในการแก้ปัญหาความยากจนของประเทศต่างๆ
ประเทศสาธารณรัฐอินเดีย มีประชากร 1.3 พันล้านคน พื้นที่ 3.287 ตร.กม. คนอินเดียส่วนใหญ่ร้อยละ 81.3 นับถือศาสนาฮินดู ร้อยละ12 นับถือศาสนามุสลิม นอกนั้นนับถือศาสนาคริสต์ ซิกซ์ พุทธ เชน
สืบเนื่องจากช่วงที่ผ่านมา รัฐบาลประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนได้มีนโยบายการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมุ่งเป้าหมาย กระทั่งธนาคารโลกรายงานว่า ปี ๒๐๑๙ คนจนได้ลดจำนวนลงเหลือเพียง ๑๖.๖ ล้านคนเท่านั้น
จำนวนโรงเรียนที่ถ่ายโอนไปให้ท้องถิ่น รายงานการศึกษาไทย พ.ศ. 2561 ระบุว่า มีนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเป็นจำนวนคนและอัตราส่วนร้อยละของนักเรียนทั้งประเทศ ดังนี้
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (Special Economic Zone : SEZ) ได้เริ่มขึ้นเมื่อช่วงปี 2558ด้วยความพยายามที่จะเปิดพื้นที่ทางเศรษฐกิจใหม่ ในจังหวัดริมขอบชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน
ทางออกทางเลือก จากเวทีกรรมาธิการ ส.ว.
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกโครงการ EEC
ประเด็นความเหลื่อมล้ำด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร