รายงานประชาชน



รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 15) “ลดความเหลื่อมล้ำ ด้านการพัฒนาพื้นที่ ปี 2562”

ประสิทธิผลการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการพัฒนาพื้นที่ ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน (2562) การกระจายอำนาจและการจัดการปัญหาในระดับชุมชนท้องถิ่น


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 14) “ภูมิปัญญาและเทคโนโลยี แหล่งน้ำการเกษตร ปี 2562”

ธนาคารน้ำใต้ดิน นวัตกรรม “ธนาคารน้ำใต้ดิน (Groundwater Bank)” ของ หลวงพ่อสมาน สิริปัญโญ ประธานสถาบันน้ำนิเทศศาสนคุณ ซึ่งใช้หลักการเติมน้ำไปเก็บในชั้นใต้ดิน



รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 12) “ ระบบชลประทาน และการจัดการลุ่มน้ำ ปี 2562 ”

ระบบชลประทาน การจัดการน้ำระดับมหภาค งานชลประทานเป็นระบบการจัดการน้ำในระดับมหภาคของประเทศ เริ่มขึ้นอย่างจริงจังในรัชกาลที่ 5 เมื่อมีการขุดลอกคลองและขุดคลองขึ้นใหม่ในบริเวณทุ่งราบภาคกลางจำนวนมาก


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 11) “จัดการแหล่งน้ำ แก้ภัยแล้งแก้ยากจน ปี 2562”

แนวคิดการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง การจัดการทรัพยากรที่เป็นธรรม นิธิเอียวศรีวงศ์ (2539) เสนอแนวคิด การจัดการทรัพยากรโดยทั่วไป ชี้ว่าประกอบด้วยสิ่งสำคัญ 4 อย่าง คือ


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 10) “น้ำท่วม กับปัญหาความยากจน ปี 2562”

พื้นที่ปัญหาน้ำท่วมในรอบปี ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2551-2560) พบว่า ประเทศไทยประสบปัญหาน้ำท่วมในหลายจังหวัด ปัญหาน้ำท่วมหนักที่มีความรุนแรง คือ พ.ศ. 2554 มีพื้นที่ประสบอุทกภัย จำนวน 74 จังหวัด 53,380 หมู่บ้าน มีพื้นที่เกษตรได้รับความเสียหาย 11,798,241 ไร่ มูลค่าความเสียหายสูงถึง 23,839 ล้านบาท


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 9) “ภัยแล้ง กับปัญหาความยากจน ปี 2562”

พื้นที่ปัญหาภัยแล้งซ้ำซากในรอบปี ปัญหาภัยแล้งเป็นภาวะคุกคามตามธรรมชาติที่ประเทศไทยต้องเผชิญอยู่ทุกปีจากอดีตจนถึงปัจจุบัน 


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 8) “การเข้าถึงแหล่งเงินทุนของประชาชน ปี 2562”

ภาพรวมสถาบันการเงินที่ให้บริการทางการเงินแก่ประชาชนฐานรากในปัจจุบัน แบ่งออกตามลักษณะและจุดประสงค์ เป็น 3 กลุ่มหลัก ประกอบด้วย


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 7) “ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ก่อนโควิด-19”

ความแตกต่างด้านรายได้ เมื่อพิจารณาสัดส่วนรายได้ของประชากรหรือการถือครองรายได้ของกลุ่มประชากรตามระดับรายได้ พบว่า


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 6) “สถานการณ์ความยากจน ก่อนโควิด-19”

สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำ ปี 2562 การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยมุ่งเน้นไปที่การขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP growth) และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเป็นหลัก แต่ในอีกมิติหนึ่งต้องมาพร้อมกับการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ คุณภาพชีวิตประชาชนและสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น