กฎหมาย

“ แก้ไขเพิ่มเติม กติกาเลือกตั้ง ”  รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 138)

ภายหลังเสร็จศึกอภิปรายไม่ไว้วางใจ 11 รัฐมนตรี ท่านประธานชวน หลีกภัย ได้นัดหมายประชุมร่วมรัฐสภาเพื่อพิจารณาการแก้ไขเพิ่มเติม พรป.การเลือกตั้ง และ พรป.พรรคการเมือง ให้ทันฤดูกาลเลือกตั้งใหญ่ที่จะมาถึง


“ ยกเลิกกฎหมายล้าสมัย ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 135)

วันแรกที่เปิดสมัยประชุม วุฒิสภาได้พิจารณาเห็นชอบ (ร่าง)พ.ร.บ.ยกเลิกกฎหมายบางฉบับที่หมดความจำเป็นหรือซ้ำซ้อนกับกฎหมายอื่น พ.ศ. …. ตามที่รัฐบาลเสนอและผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 124) “พรป.พรรคการเมือง ระวังเลยธง”

ในที่ประชุมรัฐสภาเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565  มีข้อเสนอร่างแก้ไข พรป.ว่าด้วยพรรคการเมืองฯเข้าสู่การพิจารณา รวม 6 ฉบับ


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 123) “จับตาแก้ไข พ.ร.ป. ว่าด้วยการเลือกตั้ง”

หลังจากที่รัฐสภาได้พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ มาตรา 83  86  และ 91 ผ่านไปเรียบร้อยแล้วเมื่อปลายปีที่แล้ว  




รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 100) “กฎหมายสนับสนุนองค์กรภาคประชาสังคม”

คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมของวุฒิสภา มีข้อเสนอแนะว่า รัฐบาลควรผลักดัน (ร่าง)พรบ.ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรภาคประชาสังคม พ.ศ. ….  


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 89) “พ.ร.บ.ประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมาย”

เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2563 รัฐบาลได้นำเสนอ (ร่าง)พ.ร.บ.ประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. …. เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 87) “กฎหมายประชามติพร้อมแล้ว”

เมื่อมีความต้องการที่จะแก้ไขรัฐธรรมนูญของนักการเมืองในฝั่ง ส.ส. กลุ่มหนึ่ง ทั้งพรรคร่วมรัฐบาลและพรรคร่วมฝ่ายค้าน มาผนวกเข้ากับกระแสการเคลื่อนไหวนอกสภาของกลุ่มนักเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาล รวมทั้งพวกโจมตี ส.ว.


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 76) “พ.ร.บ.ประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมาย”

เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2563 รัฐบาลได้นำเสนอ(ร่าง)พ.ร.บ.ประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ…. เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา ถือเป็นกฎหมายเชิงปฏิรูป ที่ ส.ส. และ ส.ว. ต้องทำงานร่วมกัน  เป็นไปตามแผนปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย นับเป็นร่างกฎหมายใหม่ฉบับแรกที่เข้ามาสู่รัฐสภา


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 67) “กฎหมายการมีส่วนร่วม 3 ฉบับที่ค้างท่อ”

การมีส่วนร่วมของประชาชนนับเป็นรากฐานที่สำคัญยิ่งของกระบวนการประชาธิปไตย สังคมมีความคาดหวังให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง เพื่อตรวจสอบการทำงานของผู้บริหารให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมมากยิ่งขึ้น