การศึกษาเพื่อแก้ปัญหาความยากจน

การศึกษาแก้จน สร้างพลเมืองคุณภาพ | รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 164)

คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนฯ วุฒิสภา ได้พิจารณากรณีศึกษานวัตกรรมการจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาความยากจนของเครือข่ายโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา 4 แห่ง เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน


ข้อเสนอแนวทางการจัดการศึกษา เพื่อขจัดความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ

การศึกษาเพื่อแก้ปัญหาความยากจน คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา


การลดความยากจนและ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา : กรณีศึกษาต่างประเทศสำหรับประเทศไทย

เสาหลักสำคัญ เพื่อขจัดความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำประสบการณ์ จากประเทศเยอรมัน : การศึกษาและเรื่องการเมืองเป็นเรื่องเดียวกัน ริเริ่มในปี ค.ศ. 1950 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2



“ตัวอย่างการปฏิรูปตัวเองของโรงเรียนขนาดเล็ก” โรงเรียนบ้านสันดาบ สมุทรสาคร

คณะทำงานแก้ปัญหาความยากจน ชุดเล็กๆ ของเราได้มีโอกาสไปเยี่ยมโรงเรียนขนาดเล็ก 2 แห่ง ที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา ตามนโยบาย Sand Box ที่รัฐบาลมอบหมายให้คุณมีชัย วีระไวทยะ เป็นแม่งาน มาตั้งแต่ปี 2561


“จุดเริ่มและเบ้าหลอม ขบวนการปฏิรูปโรงเรียน” โรงเรียนมีชัยพัฒนา จ.บุรีรัมย์

เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2564 คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา


“ แม่ข่ายโรงเรียนร่วมพัฒนาแบบเต็มพื้นที่ ” โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 จ.เชียงราย

ที่จังหวัดเชียงราย คณะกรรมาธิการมีโอกาสได้ไปเยี่ยมเครือข่ายโรงเรียนร่วมพัฒนา (Partnership School Project)