[ข้อมูลพื้นที่ประสบอุทกภัย] บ้านอาฮาล ต.ท่าวังผา อ.ท่าวังผา จ.น่าน
บริบทชุมชน บ้านอาฮาลอยู่ทางทิศตะวันออกของลำน้ำน่าน สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบ ลำน้ำที่สำคัญ คือ ห้วยร่องกอนห้วยล่องนา และลำน้ำน่าน
บริบทชุมชน บ้านอาฮาลอยู่ทางทิศตะวันออกของลำน้ำน่าน สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบ ลำน้ำที่สำคัญ คือ ห้วยร่องกอนห้วยล่องนา และลำน้ำน่าน
1. บริบทชุมชน บ้านท่าวังผา 1 หมู่ที่ 2เป็นหมู่บ้านที่ลุ่มน้ำมีห้วยไหลผ่านอยู่ 2 ห้วย คือ ห้วยกอ ห้วยกอน และมีแม่น้ำน่านไหลผ่าน ผู้คนส่วนใหญ่ที่อยู่ในชุมชนเป็นข้าราชการ ซึ่งชาวบ้านปลูกพืชผักสวนครัว และอาชีพค้าขาย
1. บริบทชุมชน บ้านสบหนอง หมู่ที่ 1,12 ตำบลตาลชุม อำเภอท่าวังผา ชาวบ้านประกอบอาชีพทางการเกษตร สวน ปลูกข้าวโพด พริก มะเขือ ยาสูบ โดยที่พื้นที่ทางการเกษตร หมู่ 1 จำนวน 1,200 ไร่ หมู่ 12 จำนวน 1,500 ไร่
1. บริบทชุมชน บ้านสลี หมู่ที่ 6 ตำบลจอมพระ อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน มีลักษณะพื้นที่โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีแหล่งน้ำสำคัญหลายสาย คือ น้ำย่าง ห้วยละเอิบ ห้วยไคร้ และห้วยมืด
1. บริบทชุมชน ภูมิประเทศที่ราบลุ่มติดลำน้ำ น้ำย่างตามที่เล่าต่อกันมาคือลำน้ำที่ก้าวย่างไปมาได้ หรือมีการเปลี่ยนเส้นทางน้ำ
1. บริบทชุมชน บ้านนาเผือก หมู่ที่ 4 และบ้านใหม่ หมู่ที่ 3 อยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบลจอมพระ อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของทั้งสองหมู่บ้านเป็นที่ราบสลับกับพื้นที่เนินสูง
1. บริบทชุมชน บ้านนาฝ่า หมู่ที่ 2 ตำบลจอมพระ อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน มีภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นลักษณะพื้นที่เป็นที่ลุ่ม มีแหล่งน้ำสำคัญ คือ น้ำย่าง และห้วยโป่ง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก รองลงมาคือรับจ้างทั่วไปและข้าราชการ นับถือศาสนาพุทธ มีภาษาพื้นเมืองเหนือใช้เป็นภาษาถิ่น
พื้นที่ส่วนใหญ่ของ จ.น่าน อยู่บนลุ่มน้ำน่าน โดยมีจุดเริ่มต้นที่ อ.เฉลิมพระเกียรติ ไหลผ่านทุ่งช้าง เชียงกลาง ปัว ท่าวังผา เมืองน่าน และเวียงสา ออกสู่อุตรดิตถ์ โดยทิศตะวันออกมีลำน้ำว้า ที่มีต้นน้ำที่ อ.บ่อเกลือ ไหลผ่านสันติสุข มารวมกับแม่น้ำน่านที่เวียงสา
ดำเนินการโดย ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคเหนือ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เป็นหนึ่งพื้นที่ต้นแบบในการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนที่อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จากความร่วมมือของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติน้ำท่วม 7 ตำบล ที่ได้มองเห็นปัญหาของตัวเองและต้องการแก้ไข จึงได้ประสานความร่วมมือกับอีก 8 อปท. ในการจัดการภัยพิบัติ เกิดเป็นแผนรับมือภัยพิบัติระดับตำบล 7 ตำบล เเละรวบรวมเป็นเเผนเครือข่ายระดับอำเภอ เกิดเป็นรูปแบบการจัดการภัยพิบัติ 3 ขั้น คือ ก่อนเกิดภัย ระหว่างเกิดภัย เเละหลังเกิดภัย ซึ่งเป็นการบูรณาการองค์ความรู้จากชุมชนเเละเครือข่าย ทำให้เกิดการจัดการที่มีระบบ จากจุดเริ่มต้นในการก่อตัวของกระบวนการทำงานที่มีชุมชนเป็นศูนย์กลาง ทำให้ปัจจุบัน…
วันที่ 18-19 เมษายน 2561 ณ ห้องประชุม สหกรณ์การเกษตร อ.เวียงสา จ.น่าน
เมื่อวันที่ 28 ก.พ. 2561 ที่ผ่านมา สสส.+สช. ผนึกกำลังกันกับหน่วยงานในจังหวัดน่านทั้ง ปภ. ป้องกันจังหวัด สาธารณสุข ทหาร นักวิชาการจาก มช. และภาคประชาสังคม ร่วมกันสรุปบทเรียน – ขยายผลการจัดการภัยพิบัติจากระดับอำเภอที่เวียงสา