พลเดช ปิ่นประทีป

ปัญโญทัย โรงเรียนทางเลือกแบบวอลดอร์ฟ

รายงานประชาชน ฉบับที่ 6/2567 ระบบการศึกษาของเราเท่าที่เป็นอยู่ในภาพรวม ส่วนใหญ่ยังคงเน้นการแข่งขันด้วยความเป็นเลิศ มุ่งปริญญา แพ้คัดออก นอกจากมีปัญหาด้านคุณภาพการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาแล้ว ยังมีเรื่องของความเหลื่อมล้ำที่นับวันยิ่งถ่างขยายออกไปทุกที


นวัตกรรมเชิงศิลป์ ถิ่นสังคมเข้มแข็ง

รายงานประชาชน ฉบับที่ 5/2567 ประชากรถิ่นสุพรรณ ช่วงรัชกาลที่ 1 – 3   กลุ่มลาวพวน เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เขตอำเภอเมืองสุพรรณบุรี อำเภออู่ทอง.  


อู่ทอง สุพรรณภูมิ สุพรรณบุรี

รายงานประชาชน ฉบับที่ 4/2567 คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน วุฒิสภา ได้รับทราบการนำเสนอผลงานนวัตกรรมเชิงศิลป์แผ่นดินสุพรรณภูมิ จากคณะทำงานชุมชนผู้สร้างสรรค์นวัตกรรมฯ


กองทุนภาครัฐ กลไกเปลี่ยนเกมการปฏิรูป

รายงานประชาชน ฉบับที่ 3/2567 “ทุนหมุนเวียน” เป็นแหล่งเงินนอกงบประมาณ เป็นเครื่องมือการคลังเพื่อใช้กระตุ้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การส่งเสริมสวัสดิการสังคม การกระจายรายได้ และการสนับสนุนนโยบายอื่นๆของรัฐบาล


ฝายชุมชน : ชะลอน้ำชั่วคราว คุณภาพชีวิตยั่งยืน

รายงานประชาชน ฉบับที่ 2/2567 นโยบายสาธารณะ เป็นเครื่องมือสำหรับการทำสิ่งที่พิสูจน์แล้วว่าดีหรือได้รับการยอมรับในจุดเล็กๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่คนทั้งมวลหรือสังคมในวงกว้าง นโยบายสาธารณะที่เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ยั่งยืน


ฉก.พญานาคราช : ช่วยชาติหรือซ้ำเติมประชาชน

รายงานประชาชน ฉบับที่ 1/2567 เมื่อเสียงข้างมากในวุฒิสภาได้พร้อมใจกันโหวตรับรองนายเศรษฐา ทวีสิน ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแล้ว ยังติดตามเอาใจช่วยการทำงานของรัฐมนตรีทุกกระทรวงโดยไม่ถือเขาถือใคร


แก้จน-ลดเหลื่อมล้ำ ด้วยการศึกษาคุณภาพใหม่

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 45/2566) แม้สถานการณ์ความยากจนในประเทศไทยจะมีแนวโน้มลดลงมาอย่างต่อเนื่องตามลำดับในรอบสามสิบปี แต่การขจัดความยากจนให้หมดไป โดยเฉพาะประชากรเป้าหมายกลุ่มท้ายๆ มักมีความยากลำบากในการเข้าถึง อย่างที่เรียกกันว่า Last Mile Research


ปางมะโอ ชุมชนลาหู่ บนปุยเมฆ

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 44/2566) ในวาระขึ้นปีงบประมาณใหม่ ทีมงานโฆษกคณะกรรมาธิการติดตาม เสนอแนะและเร่งรัดการปฏิรูปประเทศฯ ประกอบด้วย ดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม , พลเดช ปิ่นประทีป และ ดาวน้อย สุทธินิภาพันธ์


ขยายโครงสร้างพื้นฐานลดเหลื่อมล้ำ

จีนแก้จน (ฉบับที่ 10) ในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา ประเทศจีนได้ลงทุนในการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในชนบทอย่างทั่วถึงด้วยงบประมาณการลงทุนที่มหาศาลมาก


เลือกทำเกษตรมูลค่าสูง

จีนแก้จน (ฉบับที่ 10) จากการสังเกตุในระหว่างการเดินทางไปศึกษาดูงานและท่องเที่ยวทัศนศึกษาประเทศจีนในโอกาส สถานที่และภูมิภาคต่างๆ พบว่าชนบทจีนมีการทำการเกษตรในลักษณะ “ทำสวน” กันอยู่ทั่วไป


น้ำการเกษตร-คมนาคม

จีนแก้จน (ฉบับที่ 9) จีนเป็นประเทศที่มีแม่น้ำสายใหญ่พาดผ่านหลายสายและมีลำน้ำสาขาแผ่คลุมไปทั่วทุกพื้นที่ จึงมีอารยธรรมและภูมิปัญญาในการทำเกษตรกรรมมาตั้งแต่สมัยโบราณ


ลิทัวเนีย-เอสโทเนีย เมืองสวยงาม ประเทศเสมือนจริง

รายงานประชาชน (ฉบับที่ 43/2566) เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2566 ผมมีโอกาสเป็นตัวแทนของรัฐสภาไทย ให้การต้อนรับท่านเอกอัครราชฑูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มแห่งสาธารณรัฐลิทัวเนียประจำประเทศไทย นายดาริอุส ไกดีส ถิ่นพำนักอยู่ที่สิงคโปร์