ภัยพิบัติ
[VDO] การบริหารจัดการภัยพิบัติในยุคของความเสี่ยงใหม่ พื้นที่จังหวัดน่าน
การดำเนินงานภายใต้ โครงการวิจัย “พัฒนากลไกภาคีความร่วมมือเพื่อลดทอนความเสี่ยงและการจัดการภัยพิบัติน้ำท่วมดินโคลนถล่มระดับพื้นที่ด้สนการใช้ระบบข้อมูลและความรู้เชิงปฏิบัติการ”
ในสถานการณ์โควิด นับเป็นสถานการณ์ภัยพิบัติ
คณุสสัน ศุภวัตรวรคุณ, เลขาธิการสถาบันพัฒนาประชาสังคม (CSDI) มันเป็นอีกครั้ง ที่เราไม่ได้ใช้บทเรียน ประสบการณ์ ความรู้ ที่เคยมีการสรุปเอาไว้แล้วและทำเป็นกรอบเซนไดออกมาแนะนำให้ทำกันทั่วโลก ในบ้านเราก็มีครูบาอาจารย์ที่เชี่ยวชาญงานบริหารจัดการเพื่อลดทอนความเสี่ยงภัยอยู่ แต่สังคมไม่ได้ฟัง ไม่ได้ยินในสิ่งที่อาจารย์แนะนำ
การประชุมเชิงวิชาการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บริหารจัดการ เพื่อลดทอนความเสี่ยงภัยพิบัติระดับพื้นที่
ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2562 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องกิจกรรม(เธียร์เตอร์) หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
แผนเตรียมความพร้อมรับมืออุทกภัย 21 ชุมชน 4 ตำบล อ.ท่าวังผา จ.น่าน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “กรอบเเนวทางศึกษาประเมินความต้องการหลังเกิดภัยพิบัติ” พายุโซนร้อนปาบึก PABUK
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “กรอบแนวทางการศึกษาประเมินความต้องการหลังเกิดภัยพิบัติ” (Post Disaster Needs Assessment: PDNA) พายุโซนร้อนปาบึก PABUK วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 08.30-16.00 น. ณ ห้อง E201 ชั้น 2 คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา
การจัดการภัยพิบัติธรรมชาติโดยชุมชนท้องถิ่นเป็นศูนย์กลาง (VDO)
สมัชชาสุขภาพ ครั้งที่ 10 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ มติ 4.3 การจัดการภัยพิบัติธรรมชาติโดยชุมชนท้องถิ่นเป็นศูนย์กลาง ห้องประชุม 4 วันที่ 21 ธันวาคม 2560
ปฏิบัติการลุกปลุกเปลี่ยน ซีซั่น 2 EP.4 : ปฏิบัติการอยู่ได้แม้ภัย(พิบัติ)มา
เป็นหนึ่งพื้นที่ต้นแบบในการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนที่อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จากความร่วมมือของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติน้ำท่วม 7 ตำบล ที่ได้มองเห็นปัญหาของตัวเองและต้องการแก้ไข จึงได้ประสานความร่วมมือกับอีก 8 อปท. ในการจัดการภัยพิบัติ เกิดเป็นแผนรับมือภัยพิบัติระดับตำบล 7 ตำบล เเละรวบรวมเป็นเเผนเครือข่ายระดับอำเภอ เกิดเป็นรูปแบบการจัดการภัยพิบัติ 3 ขั้น คือ ก่อนเกิดภัย ระหว่างเกิดภัย เเละหลังเกิดภัย ซึ่งเป็นการบูรณาการองค์ความรู้จากชุมชนเเละเครือข่าย ทำให้เกิดการจัดการที่มีระบบ จากจุดเริ่มต้นในการก่อตัวของกระบวนการทำงานที่มีชุมชนเป็นศูนย์กลาง ทำให้ปัจจุบัน…
ภาพบรรยากาศ การเสวนาวิชาการ “ความเสี่ยงภัย (ใหม่) : ความหมายที่หลายหลากของภัยพิบัติ”
วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน 2561 เวลา 9.00-15.30 น. ณ ห้องประชุมจั๊คส์ อัมโยต์ ชั้น 4 อาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ
เอกสารประกอบ การเสวนาวิชาการ “ความเสี่ยงภัย (ใหม่) : ความหมายที่หลายหลากของภัยพิบัติ”
การเสวนาวิชาการ “ความเสี่ยงภัย (ใหม่) : ความหมายที่หลายหลากของภัยพิบัติ” วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน 2561 เวลา 9.00-15.30 น. ณ ห้องประชุมจั๊คส์ อัมโยต์ ชั้น 4 อาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ
การเสวนาวิชาการ “ความเสี่ยงภัย (ใหม่) : ความหมาย ที่หลายหลากของภัยพิบัติ”
วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน 2561 เวลา 9.00-15.30 น. ณ ห้องประชุมจั๊คส์ อัมโยต์ ชั้น 4 อาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ
การประชุมปฏิบัติการบูรณาการแผนรับมือภัยพิบัติระดับอำเภอ : อ.เวียงสา จ.น่าน
วันที่ 18-19 เมษายน 2561 ณ ห้องประชุม สหกรณ์การเกษตร อ.เวียงสา จ.น่าน