ยากจน

รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 69) “แก้ยากจนแบบพุ่งเป้า ด้วยภูมิปัญญาไทย”

เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศจีนที่เพิ่งประกาศความสำเร็จในการขจัดความยากจนทั่วประเทศเมื่อต้นปีที่ผ่านมา


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 68) “ปัจจัยชุมชนเข้มแข็ง เอาชนะความยากจน”

คณะอนุกรรมาธิการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา ได้ประมวลประเด็นที่เป็นเหตุปัจจัยความสำเร็จในการแก้ความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำจากหลายกรณีศึกษา รวมทั้งโครงการแก้จนแบบพุ่งเป้าของประเทศจีนและนโยบายแก้ปัญหาความยากจนของประเทศอินเดีย สรุปประเด็นที่หนุนเสริมความสำเร็จรวม 25 ปัจจัย  ดังนี้



รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 31) “ต้นแบบแก้จน ที่แม่ฮ่องสอน”

เมื่อปี 2559 ในขณะที่ข้อมูลของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระบุว่า แม่ฮ่องสอนเป็นจังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนมากที่สุดของประเทศไทย โดยมีสัดส่วนร้อยละ 39.21


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 30) “แก้ความยากจนในชุมชน จาก 9 กรณีศึกษา”

กรณีศึกษาการแก้ปัญหาความยากจนของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของการหารูปแบบที่เหมาะสมเพื่อเปรียบเทียบกับกรณีศึกษาจากจีนและอินเดีย


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 27) “จากจีน-อินเดีย หันมาแก้จนในคนไทย”

“จิงจุ่น” นโยบายแก้จนแบบตรงจุดของจีน รศ.ดร. Yu Haiqiu ผู้อำนวยการสถาบันไทยศึกษา สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์แห่งมณฑลยูนนาน


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 26) “นวัตกรรมการแก้ปัญหาความยากจน”

นวัตกรรมการแก้ปัญหาความยากจน หมายถึงวิสัยทัศน์ ความคิด นโยบาย ความรู้ วิธีการและกิจกรรมใหม่ๆ หรือกิจกรรมที่ประยุกต์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน ชุมชนท้องถิ่นและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่มีการนำมาใช้ในการแก้ปัญหาความยากจนของประเทศต่างๆ



แก้จนแบบจีน ในบางมุมมอง

โดย นพ.พลเดช ปิ่นประทีป สมาชิกวุฒิสภา, 23 มกราคม 2020 นโยบายของจีนไม่ใช้วิธีการแก้ปัญหาความยากจนแบบเหวี่ยงแห-หว่านโปรย คือ ไม่ใช้วิธีเหมือนกัน