วิทยุชุมชน

“วิทยุชุมชน (2): สื่อสาธารณะระดับจุลภาค”

ปัญหาที่คุกคามสิทธิการสื่อสารและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน อย่างหนึ่งคือความเป็นอิสระในการรายงานข่าว ซึ่งสื่อมวลชนในประเทศไทยทุกแขนงมีข้อจำกัด ทั้งนี้เนื่องมาจากทุกองค์กรต้องอยู่ภายใต้อิทธิพลของนายทุน และนักการเมือง รวมทั้งอำนาจรัฐ


“วิทยุชุมชน(1): อย่านั่งรอเป็นฝ่ายถูกกระทำ” นพ.พลเดช ปิ่นประทีป

เมื่อกระแสประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและการเมืองภาคพลเมืองในประเทศไทยพัดแรงขึ้น ภายหลังเหตุการณ์ พฤษภาคม 2535 เรื่องสิทธิชุมชนจึงถูกกำหนดขึ้นไว้อย่างเป็นรูปธรรมในรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ทั้งในด้านฐานทรัพยากร การทำมาหากิน และการรับรู้ข่าวสาร มาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวได้ระบุชัดเจนว่าคลื่นความถี่เป็นสมบัติสาธารณะและต้องมีการจัดสรรให้ภาคส่วนต่างๆ ได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างเหมาะสม ทั้งในส่วนของภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคสังคม โดยมีองค์กรอิสระขึ้นมาดำเนินการ


ว่าที่ กสช. ขายไอเดียแก้ปัญหาวิทยุชุมชน

ว่าที่ กสช. เสนอไอเดียแก้ปัญหาความสับสนของวิทยุชุมชน แบบไม่หักหาญ ด้วยแนวทางสมัครใจ จูงใจ และบังคับด้วยกฎหมายตามลำดับ เรียกร้องกระบวนการสรรหา กสช. ควรจะเดินหน้าต่อให้เร็ว …


ทิศทางอนาคตวิทยุชุมชน

วิทยุชุมชนเป็นสมบัติของชุมชนหนึ่งๆ ชุมชนนั้นเป็นเจ้าของร่วมใช้ร่วมรับผิดชอบ ร่วมรับประโยชน์แล้ววิทยุชุมชนต้องยึดหลักว่าคนในชุมชนเป็นได้ทั้งคนพูดและคนฟัง….(ดร.เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์)



วิทยุชุมชน : เกิดและอยู่อย่างไรให้มีคุณค่าอย่างยั่งยืน

…จำนวนเงินไม่ใช่สิ่งสำคัญ จำนวนสมาชิกที่เป็นคนในชุมชน มีความสำคัญกว่าเพราะคือสิ่งชี้ว่าได้รับความสนับสนุนอย่างไรจากชุมชน 


วิทยุชุมชน ไม่ยอมขึ้นทะเบียนกับกรมประชาสัมพันธ์ และยืนยันว่าต้องไม่มีโฆษณา

วิทยุชุมชนทั่วประเทศกว่า 200 คน ปฏิเสธการอยู่ภายใต้ร่มธงของกรมประชาสัมพันธ์ คัดค้านการขึ้นทะเบียน ไม่สนเส้นตายสิ้นเดือนนี้