Fact sheet ช.ช.ต.
รวบรวมเรื่องราวของสามจังหวัดชายแดนใต้ ผ่านการเล่าเรื่องของชุมชนต่างๆ
รวบรวมเรื่องราวของสามจังหวัดชายแดนใต้ ผ่านการเล่าเรื่องของชุมชนต่างๆ
เรียนรู้ชุมชน เป็นแนวทางการศึกษาและวิเคราะห์ชุมชนอย่างมีส่วนร่วม จัดทำโดย โครงการสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นเพื่อฟื้นฟูชายแดนภาคใต้ (ช.ช.ต.)
AAR มีขั้นตอนหลักที่สำคัญอยู่ 4 ขั้นตอน ขั้นวางแผน เตรียมการ ขั้นปฏิบัติการ และขั้นติดตามประเมินผล แต่อย่างไรก็ตามขั้นตอนในการทำAAR อาจยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม
การประเมินศักยภาพของเครือข่ายสังคม อาจพิจารณาได้ในแง่ของปริมาณจำนวนหรือขนาดของเครือข่าย หรือกลุ่มที่เข้าร่วมในด้านคุณภาพ พิจารณาจากความหลากหลายของกลุ่มหรือองค์กรที่เข้าร่วม นอกจากนี้ยังอนุมานจาก “ระบบ” ของการจัดการเครือข่ายองค์กร
การติดตามและประเมินผลภายในโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมการพัฒนาฯ
หนังสือเล่มนี้เป็นการบอกเล่าเส้นทางความพยายามสร้างสรรค์ชีวิตสาธารณะในท้องถิ่นของพลเมืองใน 35 จังหวัด ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่หลากหลาย มีทั้งส่วนที่เหมือนและแตกต่างกันของวิธีทำงาน…
สาระในหนังสือ “ถอดบทเรียนการทำงาน…ร้องเรียงเรื่องราว สารคดีโทรทัศน์ชีวิตสาธารณะ ท้องถิ่นน่าอยู่ (Healthy Public Life)” ทั้ง 25 เรื่อง
หนังสือ การจัดการน้ำโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นเล่มนี้ ปก และเนื้อหาประกอบเป็นภาพการ์ตูนสวยงามเข้าใจง่าย ด้านในมีการให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการทำงาน โดยย่อสำหรับผู้ที่จะนำไปใช้ปฏิบัติงานจริง พร้อมทั้งมีกลยุทธ์ในการปฏิบัติงาน อีกทั้งแนวทางการทำงานที่ประสานความร่วมมือกันระหว่างชาวบ้านและผู้เกี่ยวข้องในส่วนต่างๆ
หนังสือเล่มนี้ จะเขียนถึงบทเรียนที่ได้รับจากการทำงานโดยใช้ฝ่ายประเมินผลภายในในภาคประชาสังคมกรณีศึกษาโครงการวิจัยและพัฒนาชีวิตสาธารณะ – ท้องถิ่นน่าอยู่
หนังสือ“การพัฒนาเครือข่ายพันธมิตรภาคประชาสังคม: บทเรียนและวิธีวิทยา” เน้นการสร้างความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเครือข่ายพันธมิตรภาคประชาชนและการนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการพัฒนาเครือข่ายพันธมิตรภาคประชาชนให้ยั่งยืน
การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Community Action Research) เป็นความพยายามหนึ่งที่ต้องการพัฒนาสุขภาพทางสังคม และสิ่งแวดล้อม รวมหนังสือ
บทเรียน(Lesson Learned)คืออะไร? บทเรียนคล้ายๆกับคำกล่าวว่า “ถ้า…จะเกิดอะไรขึ้น” บทเรียนจะอธิบายเหตุการณ์และเงื่อนไขที่เกิดขึ้น และคำอธิบายนั้นจะต้องมีคุณค่าในการปฏิบัติ ซึ่งคำอธิบายที่ชัดเจนจะต้องมีตัวชี้วัดที่ดี ที่สะท้อนว่าเกิดอะไรขึ้น และเกิดการเรียนรู้อะไรในกระบวนการนั้น บทเรียนจะต้องระบุว่า “ อะไรใหม่ (What)” หรือ “อะไรคือข้อมูลใหม่” บทเรียนต้องมิใช่การเล่าเรื่องในอดีตเท่านั้น