หมอพลเดช


สช. ในกระแสการปฏิรูปประเทศ

ในช่วงเดือนที่ผ่านมา รัฐบาลได้แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปและคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติจำนวนมากมายหลายชุด คนจำนวนหนึ่งรู้สึกตื่นเต้นและมีลุ้นที่จะเข้าไปมีบทบาททำงานผลักดันการปฏิรูปตามอุดมการณ์ความเชื่อของตน แต่ผู้คนอีกส่วนหนึ่งอาจรู้สึกชาชินต่อการแต่งตั้งกลไกของรัฐบาลแบบนี้ไปบ้างแล้ว


จิตอาสาประชารัฐ ร่วมสร้างสำนึกไทย 4.0

  เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2560  คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบโครงการพัฒนากลไกสนับสนุนเครือข่ายจิตอาสาประชารัฐระดับจังหวัด เสริมสร้างสังคมสุขภาวะ พ.ศ. 2560-2562 โดยอนุมัติงบกลางจำนวน 161 ล้านบาท มอบหมายให้ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินงาน


ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรม โดยกลไกประชารัฐ

พลเดช ปิ่นประทีป ในเวทีวิชาการประจำปี กระทรวง พม. / 7 สิงหาคม 2560 เมื่อพูดถึงความเหลื่อมล้ำในความคำนึงของผมจะนึกถึงโดยทันทีใน 2 ประเด็น



คุยกับเลขาธิการ (13) แง่คิดจากสมัชชาองค์การอนามัยโลก

ไปร่วมประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกเป็นครั้งแรกในเที่ยวนี้ (WHA 70) ผมตั้งคำถามไปจากบ้านว่าจะไปหาคำตอบเรื่องอะไรบ้าง ซึ่งก็ได้ทั้งข้อมูล ความรู้และประสบการณ์ตรงที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนางานของสช. โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติของเรา (NHA)


การปฏิรูปเชิงพื้นที่ สำคัญที่ใครกำหนดประเด็น

พลเดช  ปิ่นประทีป เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เขียนให้โพสต์ทูเดย์ / พุธที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๐ ดูเหมือนว่านโยบายและมาตรการการปฏิรูปของรัฐบาลในช่วงสามปีที่ผ่านมา นอกจาก “จุดไม่ค่อยติด” แล้ว ยิ่งทำดูเหมือนว่ากระแสยิ่งตก แม้ว่าจะพยายามตั้งกลไกใหม่ๆออกมาเป็นจุดขาย.


คุยกับเลขาธิการ (11), “ประเด็นคานงัดจังหวัด : Local Reform Agenda”

สช.เป็นองค์กรที่ถือกำเนิดและพัฒนาการมาตามลำดับ มีภารกิจหลักคือการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันได้ขยายบทบาทจากระบบสุขภาพสู่การปฏิรูปสังคมสุขภาวะ อันเกี่ยวข้อง เชื่อมโยงและครอบคลุมไปถึงทุกปัจจัยที่กำหนดสุขภาพ(social determinants of health).


คุยกับเลขาธิการ (10) ” 10 ปี สช. สู่ยุคผลิดอกออกช่อ “

  กุมภาพันธ์ตลอดทั้งเดือน มีความเคลื่อนไหวที่เกิดจากการเดินงานเชิงยุทธศาสตร์ใหม่ๆของ สช. ในหลายเรื่อง ซึ่งผมขออนุญาตนำมารายงานให้เพื่อนสมาชิกได้รับทราบพอเป็นสังเขป ดังนี้ครับ


จิตอาสาประชารัฐ การลงทุนพัฒนาจังหวัดสู่สังคมไทย 4.0

  “ประเทศไทย 4.0”  นับเป็นวิสัยทัศน์เชิงทิศทางนโยบายและเป้าหมายสำคัญชิ้นหนึ่งของรัฐบาลที่มีพลังดึงดูดความสนใจจากภาคีเครือข่ายการพัฒนาทุกระดับ


คุยกับเลขาธิการ (9) “นักกระบวนกร ผู้สานพลังสร้างนโยบาย”

สช.เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการพัฒนาและขับเคลื่อนกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม โดยให้มีมิติความห่วงใยต่อสุขภาพเป็นวัตถุประสงค์สำคัญ