โควิด-19

เชียงใหม่หลังโควิด เศรษฐกิจจะไปทางไหน | รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 8/2566)

ในคราวที่คณะอนุกรรมาธิการยุทธศาสตร์ด้านความสามารถในการแข่งขันของวุฒิสภาไปตรวจเยี่ยมและรับฟังการบรรยายสรุปจากผู้ราชการจังหวัดเชียงใหม่


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 118) “ คึกคักท่ามกลางโควิด ”

ผลจากการควบรวมหน่วยงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติเข้าด้วยกัน 


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 86) “รับมือวิกฤติสังคมยุคโควิด”

ตามที่ได้เสนอแนะว่ารัฐบาลควรออกนโยบายจัดตั้ง“โครงการกองทุนเพื่อการฟื้นฟูสังคมและเศรษฐกิจฐานรากจากวิกฤติ COVID-19”  โดยมุ่งขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมจากพลังทางสังคมและชุมชนท้องถิ่นทั่วประเทศ จัดระบบดูแลผู้รับผลกระทบทางสังคมจากวิกฤติโควิดในครั้งนี้



ท้องถิ่น-ท้องที่วิถีใหม่ (15) “จัดการตนเองที่จังหวัด-อำเภอ วิถีใหม่สู้ภัยโควิด”

ถึง เครือข่ายผู้นำองค์กรชุมชน ภาคประชาสังคมและเครือข่ายท้องถิ่น-ท้องที่วิถีใหม่ ทุกจังหวัด.


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 83) “โควิด v.s. ต้มยำกุ้ง”

โควิดซ้ำเติม ยากจน-เหลื่อมล้ำ โรคระบาดโควิด-19 ขยายปัญหาความเหลื่อมล้ำระหว่างคนรวยและยากจนให้เห็นอย่างชัดเจนมากขึ้น เกิดวิกฤติการจ้างงานที่เลวร้าย ประชากรโลกหลายร้อยล้านคนยังคงตกงาน โดยกลุ่มของผู้หญิงและชนกลุ่มน้อยจะได้รับผลกระทบหนักที่สุด






ในสถานการณ์โควิด นับเป็นสถานการณ์ภัยพิบัติ

คณุสสัน ศุภวัตรวรคุณ, เลขาธิการสถาบันพัฒนาประชาสังคม (CSDI) มันเป็นอีกครั้ง ที่เราไม่ได้ใช้บทเรียน ประสบการณ์ ความรู้ ที่เคยมีการสรุปเอาไว้แล้วและทำเป็นกรอบเซนไดออกมาแนะนำให้ทำกันทั่วโลก ในบ้านเราก็มีครูบาอาจารย์ที่เชี่ยวชาญงานบริหารจัดการเพื่อลดทอนความเสี่ยงภัยอยู่ แต่สังคมไม่ได้ฟัง ไม่ได้ยินในสิ่งที่อาจารย์แนะนำ


ฟื้นฟูสังคม เสริมเศรษฐกิจฐานราก

“หมอพลเดชแนะใช้รูปแบบกองทุน SIF ฟื้นฟูสังคมภายหลังสงครามโควิด” การระบาดใหญ่ทั่วโลกของโควิดไวรัส ได้เคลื่อนออกจากเมืองจีนด้วยเหยื่อผู้ป่วยหลักแสน ย้ายศูนย์ไปที่ยุโรป จนบัดนี้มีผู้ป่วยเป็นหลักล้าน และดูเหมือนว่าสหรัฐอเมริกาจะกลายเป็นศูนย์กลางการระบาดที่หนักที่สุด ยังไม่มีทีท่าว่าจะสงบลงเมื่อไร