โรงเรียน

ปัญโญทัย โรงเรียนทางเลือกแบบวอลดอร์ฟ

รายงานประชาชน ฉบับที่ 6/2567 ระบบการศึกษาของเราเท่าที่เป็นอยู่ในภาพรวม ส่วนใหญ่ยังคงเน้นการแข่งขันด้วยความเป็นเลิศ มุ่งปริญญา แพ้คัดออก นอกจากมีปัญหาด้านคุณภาพการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาแล้ว ยังมีเรื่องของความเหลื่อมล้ำที่นับวันยิ่งถ่างขยายออกไปทุกที


“ ปฏิรูปโรงเรียนขนาดเล็ก ในวิถีร่วมพัฒนา ” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 128)

ในขณะที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่าง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. กำลังถกกันเรื่องทางออกทางเลือกสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 15,000 แห่ง ที่มีนักเรียนต่ำกว่า 120 คน ว่าควรเป็นเช่นไร


“ปฏิรูปโรงเรียน เสียงกู่จากฐานล่าง” รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 127)

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ (ร.ป.ค.15) จังหวัดเชียงราย เป็นโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ที่พัฒนา เจริญก้าวหน้า จนขึ้นมาเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ประจำอำเภอของ สพฐ.


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 125) “ร.ป.ค.15 โรงเรียนยุวพลเมือง”

คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา ยังคงมีภารกิจติดตามค้นหาและศึกษาโรงเรียนตัวอย่างที่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอน


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 111) “โรงเรียนมีชัยพัฒนา ปฏิรูปการศึกษาจากฐานล่าง”

เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2564 คณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา นำโดยประธาน รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ ได้ไปเยี่ยมคุณมีชัย วีระไวทยะและรับฟังการบรรยายสรุปเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนมีชัยพัฒนาและเครือข่ายในโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนาที่ท่านรับผิดชอบ


รายงานประชาชน โดย ส.ว.พลเดช (ฉบับที่ 23) “ถ่ายโอนสถานบริการสู่ท้องถิ่น ปี 2562”

จำนวนโรงเรียนที่ถ่ายโอนไปให้ท้องถิ่น รายงานการศึกษาไทย พ.ศ. 2561 ระบุว่า มีนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเป็นจำนวนคนและอัตราส่วนร้อยละของนักเรียนทั้งประเทศ ดังนี้