จีนแก้จน

ขยายโครงสร้างพื้นฐานลดเหลื่อมล้ำ

จีนแก้จน (ฉบับที่ 10) ในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา ประเทศจีนได้ลงทุนในการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในชนบทอย่างทั่วถึงด้วยงบประมาณการลงทุนที่มหาศาลมาก


เลือกทำเกษตรมูลค่าสูง

จีนแก้จน (ฉบับที่ 10) จากการสังเกตุในระหว่างการเดินทางไปศึกษาดูงานและท่องเที่ยวทัศนศึกษาประเทศจีนในโอกาส สถานที่และภูมิภาคต่างๆ พบว่าชนบทจีนมีการทำการเกษตรในลักษณะ “ทำสวน” กันอยู่ทั่วไป


น้ำการเกษตร-คมนาคม

จีนแก้จน (ฉบับที่ 9) จีนเป็นประเทศที่มีแม่น้ำสายใหญ่พาดผ่านหลายสายและมีลำน้ำสาขาแผ่คลุมไปทั่วทุกพื้นที่ จึงมีอารยธรรมและภูมิปัญญาในการทำเกษตรกรรมมาตั้งแต่สมัยโบราณ


ปฏิรูปที่ดิน ลดเหลื่อมล้ำ

จีนแก้จน (ฉบับที่ 8) ที่ดินทำกิน เป็นปัจจัยความยากจนในเชิงโครงสร้าง โดยเฉพาะสำหรับเกษตรกรและชาวชนบท ทั้งในประเทศไทย จีน และอื่นๆ ทั่วโลก


ประเมินผลเข้มข้น

จีนแก้จน (ฉบับที่ 7) จีนมีการแยกการบริหารจัดการงานแก้ความยากจนในพื้นที่ชนบทกับการแก้ปัญหาคนจนเมืองออกจากกัน เพราะต่างก็มีลักษณะของปัญหาและบริบทที่แตกต่างกัน จึงมีนโยบายและหน่วยงานรับผิดชอบเฉพาะที่แยกกันออกไป


พุ่งเป้าแก้ปัญหาแบบตรงจุด 

จีนแก้จน (ฉบับที่ 6) จีนได้กำหนดกรอบระยะเวลาในการดำเนินงานแก้ความยากจนและฟื้นฟูพัฒนาประเทศต่อเนื่องไว้อย่างชัดเจน  โดยแบ่งเป็นแผน 3 ระยะ ดังนี้


เป้าหมายชัด-ปฏิบัติได้

จีนแก้จน (ฉบับที่ 5) เดิมที จีนมุ่งทำให้บางภูมิภาคและคนส่วนหนึ่งมีความมั่นคั่งขึ้นมาก่อน เพื่อจะช่วยพยุงให้คนที่ยากจนส่วนใหญ่ได้หลุดพ้นจากความยากจน ทำให้ตลอดระยะเวลา 40 ปีที่ผ่านมาสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศจีนได้อย่างมาก



ปราบโกงโยงกระแสผู้นำ  

จีนแก้จน (ฉบับที่ 3) นับตั้งแต่ สี จิ้นผิง ก้าวขึ้นเป็นผู้นำสูงสุดของสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อปี ค.ศ. 2013 นโยบายที่ “โดนใจคนจีน” มากที่สุดคือการปราบปรามการคอร์รัปชันอย่างเอาจริงเอาจัง


การเมืองมั่นคง เจตจำนงแรงกล้า

จีนแก้จน (ฉบับที่ 2) พรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นองค์กรนำสูงสุดที่ปกครองประเทศจีนมาอย่างต่อเนื่องเพียงพรรคเดียว นับตั้งแต่ปี 1949 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน จึงมีความมั่นคงทางการเมืองและความต่อเนื่องทางนโยบายมานานกว่า 7 ทศวรรษ  


วุฒิสภาไทย ดูงานจีนแก้จน

จีนแก้จน (ฉบับที่ 1) ด้วยคณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ วุฒิสภา เล็งเห็นว่าการเดินทางไปประชุมทวิภาคีและไปเยือนต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่มีตัวอย่างความสำเร็จในการแก้ปัญหาความยากจนอย่างเป็นรูปธรรม